ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สังข์ทอง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 36: บรรทัด 36:
|'''ออกอากาศ''' || [[17 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2524]] - [[24 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2524]] || [[29 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2550]] – [[28 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2551]] || [[23 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2561]]
|'''ออกอากาศ''' || [[17 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2524]] - [[24 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2524]] || [[29 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2550]] – [[28 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2551]] || [[23 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2561]]
|-
|-
|'''เจ้าชายสุทธราช (ตอนเด็ก)''' || || ||ด
|-
|'''สังข์ทอง (ตอนเด็ก)'''|| ดญ.ธิติยา นพพงษากิจ||ด.ช.[[ชญานิน เต่าวิเศษ]]||ด
|-
|'''เจ้าชายสุทธราช''' || [[ชาตรี พิณโณ]] || [[รติพงษ์ ภู่มาลี]] || [[สุรศักดิ์ สุวรรณวงษ์]]
|-
| สังข์ทอง || [[สินี หงษ์มานพ]] || [[มาติกา อรรถกรศิริโพธิ์]] || [[วรัญภรณ์ พัฒน์ช่วย]]
|-
|'''คันธัพพะเทวดา''' || เอกกวี ภักดีวงษ์ || ยอดวงษ์ ยมาภัย || [[ณ พบ ประสบลาภ]]
|-
|'''สมุทรมาลา''' || [[อำภา ภูษิต]] || พรพรรณ เอี่ยมผ่อง || [[กชกร ส่งแสงเติม]]
|-
|'''ท้าวมหาสุทโท''' || || || พศิน กรรณสูต
|-
|'''ศรีสมุทรเทวี''' || || ||
|-
|'''เจ้าหญิงฉันทนา/ฉันทา''' || กฤติยาภรณ์ ตรีรัตนพันธุ์ || บุศรา เบญจวัฒน์ || อัญรส ปุณณโกศล
|-
|'''เจ้าชายฉันทลักษณ์''' ||คมสัน สุริยา ||หนุ่ม มาวิน ||
|-
|'''ราฆพ''' || || ||นรินทร์ พรพิทักษ์วงศ์
|-
|'''พญาครุฑ''' || || [[เอกพันธ์ บรรลือฤทธิ์]] || [[พบศิลป์ โตสกุล]]
|-
|'''พระมเหสีสันตา''' || || || [[สุภัสสร มามีเกตุ]]
|-
|'''ท้าวกัญจาราช''' || || || [[เพชรฎี ศรีฤกษ์]]
|-
|'''พระมเหสีกาวิน''' || || || [[ชุติมา เอเวอรี่]]
|-
|'''นาคา''' || || || [[รัฐศิลป์ นลินธนาพัฒน์]]
|}
|}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:56, 5 พฤษภาคม 2561

สังข์ทอง
ส่วนหนึ่งของสารานุกรมวรรณศิลป์

สังข์ทอง เดิมทีนั้นเป็นบทเล่นละครนอกมีมาแต่กรุงศรีอยุธยายังเป็นราชธานีถึงกรุงรัตนโกสินทร์ ต่อมาในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงตัดเรื่องสังข์ทองตอนปลาย (ตั้งแต่ตอนพระสังข์หนีนางพันธุรัต) มาทรงพระราชนิพนธ์ให้ละครหลวงเล่น[1] มีตัวละครที่เป็นรู้จักกันเป็นอย่างดี คือ เจ้าเงาะซึ่งคือพระสังข์ กับนางรจนา เนื้อเรื่องมีความสนุกสนานและเป็นนิยม จึงมีการนำเนื้อเรื่องบางบทที่นิยม ได้แก่ บทพระสังข์ได้นางรจนา เพื่อนำมาประยุกต์เป็นการแสดงชุด รจนาเสี่ยงพวงมาลัย

ในคำนำหนังสือ"พระราชนิพจน์บทละครเรื่องสังข์ทอง" ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพได้กล่าวไว้ว่า[1]

...นิทานเรื่องสังข์ทองนี้มีในคัมภีร์ปัญญาสชาดก เรียกว่าสุวัณณสังขชาดก ถึงเชื่อถือกันว่าเป็นเรื่องจริง พวกชาวเมืองเหนืออ้างว่าเมืองทุ่งยั้งเป็นเมืองท้าวสามนต์ ยังมีลานศิลาแลงแห่ง ๑ ว่าเป็นสนามคลีของพระสังข์ อยู่ไมห่างวัดพระมหาธาตุนัก ที่ในวิหารหลวงวัดพระมหาธาตุ ฝาผนังก็เขียนเรื่องสังข์ทอง เป็นฝีมือช่างครั้งกรุงเก่ายังปรากฏอยู่จนทุกวันนี้ ทางหัวเมืองฝ่ายตะวันตกก็อ้างว่า เมืองตะกั่วป่าเป็นเมืองท้าวสามนต์อีกแห่ง ๑ เรียกภูเขาลูก ๑ ว่าเขาขมังม้า…

สังข์ทองเป็นเรื่องที่ได้มาจากสุวัณสังขชาดก เป็นหนึ่งใน ชาดกพุทธประวัติ เป็นนิทานพื้นบ้านในภาคเหนือและภาคใต้โดยที่สถานที่ที่กล่าวถึงเนื้อเรื่องในสังข์ทอง กล่าวคือเล่ากันว่า

  • เมืองทุ่งยั้งเป็นเมืองท้าวสามนต์ อยู่ในบริเวณใกล้วัดมหาธาตุเนื่องจากมีลานหินเป็นสนามตีคลีของพระสังข์
  • ส่วนในภาคใต้ เชื่อว่าเมืองตะกั่วป่าเป็นเมืองท้าวสามนต์ มีภูเขาลูกหนึ่งชื่อว่า "เขาขมังม้า" เนื่องจากเมื่อพระสังข์ตีคลีชนะได้ขี่ม้าข้ามภูเขานั้นไป

บทละคร

มีทั้งหมด 9 ตอนดังนี้

  1. กำเนิดพระสังข์
  2. ถ่วงพระสังข์
  3. นางพันธุรัตน์เลี้ยงพระสังข์
  4. พระสังข์หนีนางพันธุรัต
  5. ท้าวสามนต์ให้นางทั้งเจ็ดเลือกคู่
  6. พระสังข์ได้นางรจนา
  7. ท้าวสามนต์ให้ลูกเขยหาปลาหาเนื้อ
  8. พระสังข์ตีคลี
  9. ท้าวยศวิมลตามพระสังข์

การนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์

ปี พ.ศ. 2524 พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2561
ออกอากาศทาง ช่อง 7 ช่อง 7 ช่อง 7
บทละครโทรทัศน์ ภาวิต อัศศิริ ธรรมโชติ แก้วกัลยาณี
กำกับการแสดง สมชาย สังข์สวัสดิ์ ภิภัชพนธ์ อภิวรสิทธิ์ ภิภัชพนธ์ อภิวรสิทธิ์
ออกอากาศ 17 มีนาคม พ.ศ. 2524 - 24 สิงหาคม พ.ศ. 2524 29 ธันวาคม พ.ศ. 255028 ธันวาคม พ.ศ. 2551 23 มิถุนายน พ.ศ. 2561

 อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

  1. 1.0 1.1 บทละครนอกเรื่องสังข์ทอง