ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วงศ์ปลาค้อ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ดี
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
นีสัด ต่อยกะกูป้าว ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: Hillstream loachs, River loachs) เป็นวงศ์ปลาน้ำจืดที่มีขนาดเล็กชอบอาศัยอยู่ตามต้นน้ำลำธารทั่วไปใน[[ทวีปเอเชีย]]และอนุทวีป[[ยูเรเชีย]] ใช้ชื่อวงศ์ว่า Balitoridae (/บา-ลิ-ทอร์-อิ-ดี้/)
{{Taxobox
| color = pink
| name = วงศ์ปลาค้อ
| image = Homaloptera zollingeri Bleeker.jpg

| image_width = 250px
| image_caption = [[ปลาจิ้งจกดำ]] (''H. zollingeri'') ในสกุล ''[[Homaloptera]]'' หรือปลาจิ้งจก
| regnum = [[Animal]]ia
| phylum = [[Chordate|Chordata]]
| classis = [[Actinopterygii]]
| ordo = [[Cypriniformes]]
| familia = '''Balitoridae'''
|familia_authority = [[Swainson]], 1839<ref name=Kottelat2012>Kottelat, M. (2012): [http://rmbr.nus.edu.sg/rbz/biblio/s26/Conspectus_cobitidum.pdf Conspectus cobitidum: an inventory of the loaches of the world (Teleostei: Cypriniformes: Cobitoidei).] {{webarchive|url=https://web.archive.org/web/20130211134858/http://rmbr.nus.edu.sg/rbz/biblio/s26/Conspectus_cobitidum.pdf |date=2013-02-11 }} ''The Raffles Bulletin of Zoology, Suppl. No. 26: 1-199.''</ref>
|subdivision =
* ''[[Balitora]]''
* ''[[Balitoropsis]]''
* ''[[Bhavania]]''
* ''[[Cryptotora]]''
* ''[[Ghatsa]]'' <ref name=Randall2015>Randall, Z.S. & Page, L.M. (2015): On the paraphyly of ''Homaloptera'' (Teleostei: Balitoridae) and description of a new genus of hillstream loaches from the Western Ghats of India. ''Zootaxa, 3926 (1): 57–86.''</ref>
* ''[[Hemimyzon]]''
* ''[[Homaloptera]]''
* ''[[Homalopteroides]]''
* ''[[Homalopterula]]''
* ''[[Jinshaia]]''
* ''[[Lepturichthys]]''
* ''[[Metahomaloptera]]''
* ''[[Neohomaloptera]]''
* ''[[Pseudohomaloptera]]'' <ref name=Randall2015/>
* ''[[Sinogastromyzon]]''
* ''[[Travancoria]]''
|subdivision_ranks = [[genus|สกุล]]
| synonyms =*'''Homalopteridae'''<ref>{{ITIS|id=163972 |taxon=Balitoridae}}</ref>
}}

'''วงศ์ปลาค้อ''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: Hillstream loachs, River loachs) เป็นวงศ์ปลาน้ำจืดที่มีขนาดเล็กชอบอาศัยอยู่ตามต้นน้ำลำธารทั่วไปใน[[ทวีปเอเชีย]]และอนุทวีป[[ยูเรเชีย]] ใช้ชื่อวงศ์ว่า Balitoridae (/บา-ลิ-ทอร์-อิ-ดี้/)


มีลักษณะคล้ายปลาใน[[วงศ์ปลาหมู]] (Cobitidae) มีลักษณะสำคัญ คือ หัวกลม ลำตัวเรียวยาว ด้านล่างแบนราบ ปากอยู่ใต้จะงอยปาก ไม่มีฟันในลำคอ มีหนวดอย่างน้อย 3 คู่ ไม่มีเงี่ยงแข็งที่บริเวณหน้าหรือใต้ตา ครีบอกและครีบท้องแผ่ออกทั้ง 2 ข้างของลำตัว ใช้สำหรับเกาะยึดติดกับโขด[[หิน]]หรือวัสดุต่าง ๆ ใต้น้ำเพื่อมิให้ตัวถูกกระแสน้ำพัดพาไหลไป เป็นปลาที่จะอาศัยอยู่บริเวณ[[แหล่งน้ำ]]ที่เป็นต้นน้ำ คือ [[ลำธาร]]บน[[ภูเขา]]สูงที่ไหลมาจาก[[น้ำตก]] ที่มีกระแสน้ำไหลเชี่ยว ปลาในวงศ์นี้ว่ายน้ำไม่เก่ง แต่สามารถคืบคลานต้านกระแสน้ำบนโขดหินได้เป็นอย่างดี<ref>{{cite book |editor=Paxton, J.R. |editor2=Eschmeyer, W.N.|author= Banister, K.E.|year=1998|title=Encyclopedia of Fishes|publisher= Academic Press|location=San Diego|pages= 100|isbn= 0-12-547665-5}}</ref>
มีลักษณะคล้ายปลาใน[[วงศ์ปลาหมู]] (Cobitidae) มีลักษณะสำคัญ คือ หัวกลม ลำตัวเรียวยาว ด้านล่างแบนราบ ปากอยู่ใต้จะงอยปาก ไม่มีฟันในลำคอ มีหนวดอย่างน้อย 3 คู่ ไม่มีเงี่ยงแข็งที่บริเวณหน้าหรือใต้ตา ครีบอกและครีบท้องแผ่ออกทั้ง 2 ข้างของลำตัว ใช้สำหรับเกาะยึดติดกับโขด[[หิน]]หรือวัสดุต่าง ๆ ใต้น้ำเพื่อมิให้ตัวถูกกระแสน้ำพัดพาไหลไป เป็นปลาที่จะอาศัยอยู่บริเวณ[[แหล่งน้ำ]]ที่เป็นต้นน้ำ คือ [[ลำธาร]]บน[[ภูเขา]]สูงที่ไหลมาจาก[[น้ำตก]] ที่มีกระแสน้ำไหลเชี่ยว ปลาในวงศ์นี้ว่ายน้ำไม่เก่ง แต่สามารถคืบคลานต้านกระแสน้ำบนโขดหินได้เป็นอย่างดี<ref>{{cite book |editor=Paxton, J.R. |editor2=Eschmeyer, W.N.|author= Banister, K.E.|year=1998|title=Encyclopedia of Fishes|publisher= Academic Press|location=San Diego|pages= 100|isbn= 0-12-547665-5}}</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:17, 5 กันยายน 2560

นีสัด ต่อยกะกูป้าว (อังกฤษ: Hillstream loachs, River loachs) เป็นวงศ์ปลาน้ำจืดที่มีขนาดเล็กชอบอาศัยอยู่ตามต้นน้ำลำธารทั่วไปในทวีปเอเชียและอนุทวีปยูเรเชีย ใช้ชื่อวงศ์ว่า Balitoridae (/บา-ลิ-ทอร์-อิ-ดี้/)

มีลักษณะคล้ายปลาในวงศ์ปลาหมู (Cobitidae) มีลักษณะสำคัญ คือ หัวกลม ลำตัวเรียวยาว ด้านล่างแบนราบ ปากอยู่ใต้จะงอยปาก ไม่มีฟันในลำคอ มีหนวดอย่างน้อย 3 คู่ ไม่มีเงี่ยงแข็งที่บริเวณหน้าหรือใต้ตา ครีบอกและครีบท้องแผ่ออกทั้ง 2 ข้างของลำตัว ใช้สำหรับเกาะยึดติดกับโขดหินหรือวัสดุต่าง ๆ ใต้น้ำเพื่อมิให้ตัวถูกกระแสน้ำพัดพาไหลไป เป็นปลาที่จะอาศัยอยู่บริเวณแหล่งน้ำที่เป็นต้นน้ำ คือ ลำธารบนภูเขาสูงที่ไหลมาจากน้ำตก ที่มีกระแสน้ำไหลเชี่ยว ปลาในวงศ์นี้ว่ายน้ำไม่เก่ง แต่สามารถคืบคลานต้านกระแสน้ำบนโขดหินได้เป็นอย่างดี[1]

ในประเทศไทย พบหลายชนิด เช่น ปลาจิ้งจกสมิธ (Homaloptera smithi) และปลาจิ้งจกหัวแบน (Balitora brucei) ปลาเหล่านี้สามารถใช้เป็นดัชนีบ่งชี้คุณภาพน้ำทางกายภาพได้เป็นอย่างดี เนื่องจากส่วนใหญ่แล้วอาศัยอยู่ในแหล่งน้ำธรรมชาติที่สะอาด และกินแมลงน้ำและตะไคร่น้ำเป็นอาหาร โดยแมลงน้ำและตะไคร่น้ำจะต้องอาศัยอยู่ในแหล่งน้ำที่สะอาดเช่นกัน

ไม่ใช้เป็นปลาที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจในแง่ของการเป็นปลาบริโภค เพียงแต่อาจมีการบริโภคกันในท้องถิ่น และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามหลายชนิดด้วยกัน โดยมักจะเรียกในวงการปลาสวยงามว่า "ปลาจิ้งจก" หรือ "ปลาผีเสื้อติดหิน" หรือ "ปลาซัคเกอร์ผีเสื้อ" เป็นต้น

และเดิมทีวงศ์นี้ยังแบ่งออกเป็นวงศ์ย่อยอีก 2 วงศ์ แต่ปัจจุบันได้แยกออกเป็นวงศ์ต่างหาก คือ Nemacheilidae (วงศ์ปลาค้อหิน) และ Gastromyzontidae[2]

อ้างอิง

  1. Banister, K.E. (1998). Paxton, J.R.; Eschmeyer, W.N. (บ.ก.). Encyclopedia of Fishes. San Diego: Academic Press. p. 100. ISBN 0-12-547665-5.
  2. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Kottelat2012

แหล่งข้อมูลอื่น