ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Shinochin (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Infobox school
{{Infobox school
| name = โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย
| name = โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย
| latin_name = SamsenwB4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%A2 มาร์ชสามเสน]
| latin_name = Samsenwittayalai School
| logo = [[ไฟล์:ตราประจำโรงเรียนสามเสนวิทยาลัย.png|150px]]
| motto = สทฺธา สาธุ ปติฏฺฐิตา
| motto_translation = ศรัทธาตั้งมั่นแล้ว ยังประโยชน์ให้สำเร็จ
| streetaddress = 132/11 ถนนพระรามที่ 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท
| city = กรุงเทพมหานคร
| zipcode = 10400
| schooltype = มัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ
| established = [[15 เมษายน]] [[พ.ศ. 2498]] ({{อายุปีและวัน|1955|4|15}})
| district = สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1
| colors = {{colorbox|fuchsia}}{{colorbox|green}} สีชมพู - เขียว
| slogan_label = คำขวัญ
| slogan_text = ลูกสามเสน มีเกียรติ มีศักดิ์ศรี มีน้ำใจ
| song = [https://th.wikisource.org/wiki/%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%8A%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%A2 มาร์ชสามเสน]
| free_label = ต้นไม้ประจำโรงเรียน
| free_label = ต้นไม้ประจำโรงเรียน
| free_text = ต้นนนทรีและบัวสาย
| free_text = ต้นนนทรีและบัวสาย
บรรทัด 27: บรรทัด 14:


=== ตราประจำโรงเรียน ===
=== ตราประจำโรงเรียน ===
ดวงประทีป เหนืออักษรย่อชื่อโรงเรียนภายในวงกลม มีปรัชญาของโรงเรียนเป็นภาษาบาลี และคำแปลเขียนล้อมวงกลมรอบนอก และชื่อโรงเรียนในแถบโบว์ปลายพลิ้วรูปครึ่งวงกลมที่ส่วนล่างสุด
ดวงประทีป เหนืออักษรย่อชื่อโรงเรียนภายในวงกลม มีปรัชญาของโรงเรียนเป็นภาษาบาลี และคำแปลเขียนล้อมวงกลมรอบนอก และชื่อโรงเรียนในแถบโบว์ปลายพลิ้วรูปครึ่ง

=== ธงประจำโรงเรียน ===
พื้นธงสีชมพู แถบสีละครึ่งผืน ตามความยาวของผืนธง สีชมพูอยู่บน สีเขียวอยู่ล่าง ปักด้วยไหม เป็นรูปตราโรงเรียนทางมุมซ้ายของผืนธง ตรงแถบสีชมพู
== ประวัติ<ref>http://www.samsenwit.ac.th/about-sc/about8.html</ref> ==
[[ไฟล์:ลานพระ.jpg|thumb|left|383x383px]]
ปีการศึกษา 2494 กระทรวงศึกษาธิการมีโครงการสร้างโรงเรียนฝึกหัดครูอีกแห่งหนึ่ง ที่ตำบลพญาไท [[เขตดุสิต|อำเภอดุสิต]] จังหวัดพระนคร
ต่อมาเนื่องจากสภาพความจำเป็นเกี่ยวกับสถานที่เรียนของนักเรียนมัธยมมีไม่เพียงพอ กระทรวงศึกษาธิการ จึงโอนโรงเรียนที่กำลังสร้างนี้ให้เป็นโรงเรียนมัธยมของ กรมวิสามัญ (ในเวลานั้น) ใช้ชื่ออย่างไม่เป็นทางการว่า“โรงเรียนรางน้ำ” แต่งตั้ง นายดัด จันทนะโพธิ  ปฏิบัติหน้าที่ครูใหญ่และได้ย้ายนักเรียนชาย  จำนวน 57 คน  ที่ฝากเรียนไว้ที่โรงเรียนวัดราชาธิวาส  มาเรียนที่นี่
ต่อมา ปีการศึกษา 2495 [[หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล]] [[รัฐมนตรี]]ว่าการ[[กระทรวงศึกษาธิการ]]ในสมัยนั้น ได้ตั้งชื่อโรงเรียนอย่างเป็นทางการว่า'''[[โรงเรียนศรีอยุธยา]]''' มีนายพงษ์ แสงทอง เป็นครูใหญ่คนแรก และในปีเดียวกันนั้นเองได้มีนักเรียนหญิงจำนวนหนึ่งเข้าไปเรียน แต่ไม่ได้รวมเป็นโรงเรียนเดียวกัน ฝ่ายโรงเรียนหญิงได้มอบหมายให้ น.ส.เศวต จึงเจริญ เป็นครูใหญ่

ครั้นต่อมาเมื่อวันที่ [[1 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2496]] [[กรมวิสามัญศึกษา]]ได้ส่งนักเรียนชายซึ่งไม่มีที่เรียนและคุรุสภารับไว้ ตั้งแต่ชั้น ม.1-ม.6 เข้าไปเรียนเพิ่มเติมจนสถานที่คับแคบ กระทรวงศึกษาธิการจึงได้จัดหาซื้อที่ดินของเอกชนมรดกของพระยาเพชรปรานี จำนวน 3 แปลง รวมเนื้อที่ 22 ไร่ 1 งาน 44 ตารางวา เพื่อแยกโรงเรียนและเริ่มก่อสร้างเมื่อวันที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2497 และได้ย้ายนักเรียนชายจากโรงเรียนศรีอยุธยามาเข้าเรียนเมื่อวันที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2498 ให้ชื่อโรงเรียนอย่างเป็นทางการว่า '''"โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย"'''และแต่งตั้ง นายทิม ผลภาค เป็นครูใหญ่คนแรก
เพื่อที่จะให้ครู-อาจารย์ นักเรียนเก่า ตลอดจนผู้ปกครองนักเรียนของโรงเรียนสามเสนวิทยาลัย ได้ระลึกและมองเห็นความสำคัญของโรงเรียน ผู้อำนวยการโรงเรียนหลายท่านมีความเห็นว่า ควรที่จะจัดงานวันที่ระลึกโรงเรียนขึ้น หากจะกำหนดเอาวันที่ 15 เมษายน (วันที่ 15 เมษายน ๒๔๙๘ เป็นวันที่โรงเรียนได้รับการตั้งชื่ออย่างเป็นทางการว่า "โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย") เป็นวันที่ระลึกของโรงเรียน ก็ไม่สะดวกในการจัดและการนัดหมายต่างๆ

ในสมัยที่ อาจารย์เจือ หมายเจริญ ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการ ได้มีการปรึกษากันในเรื่องนี้อย่างจริงจังจากทุกฝ่าย ด้วยเหตุผลที่ถือว่านักเรียนเป็นองค์ประกอบที่สำคัญ จึงถือกำหนดเอาวันก่อตั้งสมาคมนักเรียนเก่าสามเสนวิทยาลัย วันที่ 28 มกราคม เป็นวันที่ระลึกของโรงเรียนและจัดงานนี้ขึ้นเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2526 และจัดให้มีขึ้นสืบต่อมาทุกปีโดยตลอด เรียกวันสำคัญนี้ว่า "วันสามเสนวิทยาลัย"
กิจกรรมสำคัญ ที่จัดให้มี คือ การทำบุญตักบาตรพระภิกษุ จำนวน 99 รูป ร่วมกันทั้งครู-อาจารย์ นักเรียน กรรมการสมาคมนักเรียนเก่าสามเสนวิทยาลัย สมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนสามเสนวิทยาลัย มูลนิธิโรงเรียนสามเสนวิทยาลัย และผู้ปกครองนักเรียน นอกจากนั้นยังมีพิธีมอบเครื่องหมายเกียรติคุณแก่ครู-อาจารย์ นักการภารโรง ที่ปฏิบัติงานมาเป็นเวลานาน มีผลงานดีเด่นในแต่ละปี โดยปฏิบัติงานด้วยความวิริยะ อุตสาหะ เพื่อความเจริญก้าวหน้าของโรงเรียนอีกกิจกรรมหนึ่งด้วยทุกปี

ในปี 2505 เริ่มเปิดชั้นเรียนเตรียมอุดมศึกษาปีที่ 1 (ม.7) ในปีนี้ โรงเรียนโด่งดังในด้านกีฬ่า โดยเฉพาะฟุตบอลอย่างมาก จนที่เป็นกล่าวขวัญของบุคคลภายนอกและมีแฟนคลับทีมฟุตบอลของโรงเรียนเรื่อยมา

ต่อมาในปีการศึกษา 2510 กระทรวงศึกษาธิการได้คัดเลือกโรงเรียนสามเสนวิทยาลัย เป็นโรงเรียนแรกและโรงเรียนเดียว ซึ่งใช้หลักสูตรโครงการมัธยมศึกษาแบบประสม (คมส.) และได้เปลี่ยนเป็นโรงเรียนสหศึกษานับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา

ในปีการศึกษา 2538 โรงเรียนได้มีโรงเรียนสาขาของโรงเรียนสามเสนวิทยาลัยชื่อ "โรงเรียนราชนันทาจารย์ สามเสนวิทยาลัย 2"

ในปีการศึกษา 2547 โรงเรียนได้เปิดหลักสูตรการเรียนการสอน "โครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์" หรือ MSEP เป็นปีการศึกษาแรก

ในปีการศึกษา 2548 โรงเรียนได้เปิดหลักสูตรการเรียนการสอน "โครงการจัดการเรียนการสอน ตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการ เป็นภาษาอังกฤษ" หรือ English Program เป็นปีการศึกษาแรก

ในปีการศึกษา 2554 โรงเรียนได้เปิดหลักสูตรการเรียนการสอน "โครงการจัดการเรียนการสอน คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษและคอมพิวเตอร์เป็นภาษาอังกฤษโดยครูไทย" หรือ EIS เป็นปีการศึกษาแรก

ในปีการศึกษา 2557 โรงเรียนได้เปิดหลักสูตรการเรียนการสอน "โครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น" เป็นปีการศึกษาแรก

== ทำเนียบผู้บริหารโรงเรียนสามเสนวิทยาลัย<ref>http://www.samsenwit.ac.th/about-sc/about11.html</ref> ==
{| class="wikitable sortable"
|-
! style="background: #ff00db; color:white; " | ลำดับ
! style="background: #30d02b; color:white; " | วาระการดำรงตำแหน่ง
! style="background: #ff00db; color:white; " |รายนามผู้บริหาร
! style="background: #30d02b; color:white; " |หมายเหตุ
|-
|1.
|พ.ศ. 2494 - 2495
|นายดัด จันทนะโพธิ์
|ครูใหญ่โรงเรียนรางน้ำ
|-
|2.
|พ.ศ. 2495 - 2497
|นายพงษ์ แสงทอง
|ครูใหญ่โรงเรียนศรีอยุธยา
|-
|3.
|พ.ศ. 2497 - 2503 || นายทิม ผลภาค ||
|-
|4.
|พ.ศ. 2503 - 2507 || นายจำเนียร บุญกูล ||
|-
|5.
|พ.ศ. 2507 - 2509 || นายมนตรี ชุติเนตร ||
|-
|6.
|พ.ศ. 2509 - 2519 || [[คุณหญิง]][[สุชาดา ถิระวัฒน์]] ||
|-
|7.
|พ.ศ. 2519 - 2521 || [[ยศทหารและตำรวจไทย|ว่าที่ร้อยตรี]] [[ดอกเตอร์ (คำนำหน้านาม)|ดร.]]จรัญ โสตถิพันธุ์ ||
|-
|8.
|พ.ศ. 2521 - 2523 || นางลออศรี ชุมวรชาต ||
|-
|9.
|พ.ศ. 2523 - 2532 || นายเจือ หมายเจริญ ||
|-
|10.
|พ.ศ. 2532 - 2539 || นายเสรี ลาชโรจน์ ||
|-
|11.
|พ.ศ. 2539 - 2542 || นางอุไรวรรณ สุพรรณ ||
|-
|12.
|พ.ศ. 2542 - 2544 || นายอำนาจ ศรีชัย ||
|-
|13.
|พ.ศ. 2544 - 2546 || นางสาวจงกล ทรัพย์สมบูรณ์ ||
|-
|14.
|พ.ศ. 2546 - 2551 || นายวิศรุต สนธิชัย ||
|-
|15.
|พ.ศ. 2551 - 2553 || นางรัตนา เชาว์ปรีชา ||
|-
|16.
|พ.ศ. 2553 - 2557 || นางฎาทกาญจน์ อุสตัส ||
|-
|17.
|พ.ศ. 2557 - 2558 || นายสุพจน์ อภิศักดิ์มนตรี ||
|-
|18.
|พ.ศ. 2558 - 2559|| นายพิชยนันท์ สารพานิช ||
|-
|19.
|พ.ศ. 2559 - ปัจจุบัน
|นายวิโรฒ สำรวล
|ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับแต่งตั้งตามคำสั่งสพม.เขต1 ที่ 141/2560 ลงวันที่ 23 มิย.2560<ref name=":0">https://www.matichon.co.th/news/591879

http://www.komchadluek.net/news/edu-health/284969
</ref>
|-
|รักษาราชการแทน
|26 มิถุนายน พ.ศ. 2560 - ปัจจุบัน
|นางพนัสดา สีมั่น<ref>http://data.bopp-obec.info/emis/showdetail.php?id=311640&Area_CODE=</ref>
|รองผู้อำนวยการรักษาราชการแทนตามคำสั่งโรงเรียนสามเสนวิทยาลัย ที่ 220/2560<ref name=":0" />
|}

== สิ่งปลูกสร้าง<ref>http://www.samsenwit.ac.th/about-sc/about7.html</ref> ==

[[ไฟล์:อาคารหนึ่ง.jpg|thumb|left|อาคาร 1]]
[[ไฟล์:โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย_อาคาร2และสนามหญ้า.jpg‎|thumb|left|อาคาร 2 และสนามหญ้า]]
[[ไฟล์:สระบัว.jpg|thumb|left|สระบัว]]
* '''อาคาร 1''' (ตึกหนึ่ง) สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2497 เป็นอาคารแรกและอาคารเดียวที่สร้างพร้อมกับการก่อตั้งโรงเรียน ปัจจุบันได้รับการบำรุงรักษาเป็นอย่างดี อาคารนี้ประกอบด้วย ห้องเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (เกษตรกรรม) สำนักงานของกลุ่มกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (แนะแนว) ห้องรับรอง ห้องประชุม ห้องศูนย์วัฒนธรรม ที่ทำการของสมาคมนักเรียนเก่าสามเสนวิทยาลัย ห้องพยาบาล ห้องแนะแนว สำนักงานงานฝ่ายบริหารการเงินและสินทรัพย์ และสำนักงานฝ่ายกิจการนักเรียน

* '''อาคาร 2''' (ตึกวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์) เดิมเป็นอาคารไม้ทั้งหลัง ต่อมาได้งบประมาณรื้อทิ้ง และสร้างใหม่เป็นอาคาร 4 ชั้น สร้างเสร็จเมื่อปีพ.ศ. 2512 ปัจจุบันอาคารนี้เป็นอาคารวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วย ห้องเรียนของนักเรียนมัธยมต้นและปลายในการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ สำนักงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สำนักงานกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และสำนักงานของฝ่ายบริหารวิชาการ และฝ่ายงานทะเบียน-วัดผล หน้าอาคารนี้มีเสาธงอยู่ด้วยซึ่งเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2560 โรงเรียนสามเสนวิทยาลัยได้เพิ่มยอดเสาธงให้สูงขึ้นจากเดิม

* '''อาคาร 3''' (ตึกสาม) เดิมเป็นเรือนไม้แถวยาว สร้างเมื่อปีพ.ศ. 2497 ต่อมาได้ถูกรื้อและสร้างใหม่ด้วยเงินสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล เป็นอาคารสูง 5 ชั้น สร้างเสร็จเมื่อปีพ.ศ. 2517 ปัจจุบันประกอบด้วยห้องเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและปลาย ห้องโสตทัศนศึกษา (ห้องทวีวิชา,ขจีรัตน์และอักษราวลี) ห้องปฏิบัติการทางภาษาต่างประเทศ (ห้อง ICT) สำนักงานกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำนักงานกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ สำนักงานกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม สำนักงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การพัฒนาผู้เรียน ชั้นล่างมีสหกรณ์โรงเรียน ห้องสมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนสามเสนวิทยาลัย และห้องของคณะกรรมการนักเรียน ต่อมา เมื่อปีพ.ศ. 2544 ในสมัยที่นายอำนาจ ศรีชัย เป็นผู้อำนวยการโรงเรียน ได้สร้างส่วนต่อเติมเป็นสำนักงานผู้อำนวยการ ห้องเรียนรวม ห้องรับรอง และห้องประชุม ให้เพียงพอต่อจำนวนนักเรียนที่เพิ่มมากขึ้น และหลังจากนั้น เมื่อปีพ.ศ. 2554 ได้มีการปรับปรุงเพื่อสร้างธนาคารโรงเรียนสามเสนวิทยาลัย (สนับสนุนโดย[[ธนาคารออมสิน]])

* '''อาคาร 4''' (ตึกศิลปะ) เดิมเป็นอาคารศิลปศึกษา สร้างเมื่อปีพ.ศ. 2506 ต่อมาได้ถูกรื้อและสร้างใหม่เป็นอาคารสูง 5 ชั้นเมื่อปีพ.ศ. 2532 ปัจจุบันเป็นห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษก ห้องเรียนของนักเรียนมัธยมต้นและปลาย (วิชาศิลปศึกษาทั้งหมดเรียนที่ตึกนี้) สำนักงานกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปศึกษา ห้องเรียนศิลปะ ห้องเรียนนาฏศิลป์ ห้องเรียนดนตรีสากล และห้องเรียนดนตรีไทย มีทางเดิมเชื่อมติดกับอาคาร 3 และอาคาร 9 และเมื่อปีพ.ศ. 2560 ได้มีการปรับปรุงห้อง4201และห้อง4202เป็นหอศิลป์สามเสนเพื่อใช้จัดแสดงผลงานศิลปะของนักเรียนและครูโรงเรียนสามเสนวิทยาลัยรวมทั้งในปีเดียวกันนั้นได้มีการปรับปรุงห้องสมุดเฉลิมพระเกียรติกาญจนาภิเษกอีกด้วย

* '''อาคาร 5''' (ตึกคหกรรม) เป็นอาคาร 2 ชั้น ปัจจุบันเป็นอาคารเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คหกรรมศาสตร์) และยังใช้ห้องด้านล่างเป็นห้องรับรองแขก และใช้ในการทานอาหารกลางวันของแขกที่มาเยี่ยมชมหรือดูงานที่โรงเรียนอีกด้วย

* '''อาคาร 6''' (โรงยิมส์) เป็นโรงพลศึกษา ไว้สำหรับเรียนวิชาในกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา และในปีพ.ศ. 2545 ได้ก่อสร้างสนามเทนนิสขนาดมาตรฐานขึ้นแทนสนามเดิม เพื่อรองรับการเรียนการสอนในวิชาพลศึกษา รวมถึงยังเป็นห้องพักครูหมวดวิชาพลศึกษาและสุขศึกษาอีกด้วย

* '''อาคาร 7''' (ตึกอุต) เป็นอาคาร 2 ชั้น สำหรับการเรียนการสอนของกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (อุตสาหกรรมศึกษา และ ธุรกิจศึกษา) ชั้นแรก เป็นห้องเรียนวิชา งานช่าง งานเหล็ก ส่วนชั้นที่ 2 เป็นห้องงานปั้น งานเขียนแบบ และห้องปฏิบัติการของวิชาธุรกิจศึกษา

* '''อาคาร 8''' (ตึก ศน./ตึกEP) สร้างเมื่อปีพ.ศ. 2507 เดิมเป็นอาคารของหน่วยศึกษานิเทศก์ กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ต่อมาโรงเรียนได้รับคืนจากกระทรวงศึกษาธิการเมื่อปีพ.ศ. 2545 และโรงเรียนปรับปรุงภายนอกและภายในอาคารใหม่ทั้งหมด ปัจจุบันเป็นห้องเรียนของโครงการจัดการเรียนการสอน ตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการ เป็นภาษาอังกฤษ (English Program) มีห้องเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์) และห้องประชุมใหญ่โครงการ English Program รวมทั้งสำนักงานฝ่ายบริหารทั่วไป สำนักงานฝ่ายวิชาการ และฝ่ายธุรการ ของโครงการ English Program

* '''อาคาร 9''' (ตึกเก้า) เป็นส่วนต่อเติมของอาคาร 4 เพื่อรองรับจำนวนนักเรียนเน้นภาษาต่างประเทศที่สอง (ฝรั่งเศส,เยอรมัน,ญี่ปุ่น และ จีน) ที่เพิ่มมากขึ้น เป็นอาคารสูง 4 ชั้น ชั้นที่ 1 และ 2 เป็นส่วนขยายของห้องสมุด ส่วนชั้นที่ 3 และ 4 เป็นห้องเรียนของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายที่เน้นภาษาต่างประเทศที่สอง รวมทั้งห้องปฏิบัติการทางภาษา กลุ่มภาษาต่างประเทศที่สอง
* '''อาคารอเนกประสงค์''' (อาคารอเนก) สร้างเมื่อปีพ.ศ. 2520 ด้วยเงินงบประมาณ เพื่อเป็นห้องประชุมขนาดใหญ่ (ชั้นบน) และโรงอาหาร (ชั้นล่าง) สำหรับรับประทานอาหาร
* '''ศาลาสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี''' (ห้องประชาสัมพันธ์/ศาลาประชาสัมพันธ์) สร้างเมื่อปีพ.ศ. 2525 สำหรับเป็นห้องประชาสัมพันธ์
* '''อาคารเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ พระชนมพรรษา''' สร้างเมื่อปีพ.ศ. 2539 เป็นส่วนต่อเติมของอาคาร 2 เป็นศูนย์วิทยบริหาร ห้องเรียนวิทยาศาสตร์ และห้องเรียนคณิตศาสตร์ ห้องเรียนโครงการพิเศษ เช่น ห้องปฏิบัติการทางคณิตศาสตร์ (Math Center หรือ MC) อันทันสมัย
* '''อาคาร 3 ส่วนต่อเติม''' (ตึกปีโป้,ตึกสำนักงานผู้อำนวยการ) เดิมเป็นช่องทางเชื่อมระหว่างอาคาร1และอาคาร3เป็นห้องน้ำชาย ต่อมาได้มีการปรับปรุงให้เป็นสวนหย่อม สำหรับอ่านหนังสือในสมัย นางอุไรวรรณ สุพรรณ ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการ และต่อมาได้สร้างเป็นอาคาร5ชั้นเชื่อมต่อกับอาคาร3 และชั้นสองสามารถเชื่อมกับอาคาร1 เป็นที่ตั้งห้องผู้อำนวยการ และในชั้น3 4 5 เป็นห้องโสตทัศนศึกษา (ชั้น4 คือ ห้อง ขจีรัตน์ ) และห้องประชุมของโรงเรียน สำหรับชั้น 5 ซึ่งเดิมเป็นห้องโสตทัศนศึกษา (ห้องสามเสนรวมใจ) ได้ดัดแปลงเป็นท้องฟ้าจำลอง

==หลักสูตรที่เปิดการเรียนการสอน==

=== '''ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น''' (ม.1-3) แบ่งเป็น<ref>http://www.samsenwit.ac.th/course/course5.html

http://www.samsenwit.ac.th/course/course6.html
</ref> ===
* ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ หรือ ESC (ห้อง 1)
* ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ หรือ MSEP (ห้อง 2)
* ห้องเรียนหลักสูตรทั่วไป (ห้อง 3-6)
* ห้องเรียน EIS (ห้อง 7-8)
* ห้องเรียน EP (ห้อง 9-12)

=== '''ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย''' (ม.4-6) แบ่งเป็น<ref>http://www.samsenwit.ac.th/course/course6.html</ref> ===
* ห้องเรียนเน้นวิทยาศาสตร์ (ห้อง1-4)
* ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ หรือ ESC (ห้อง 5)
* ห้องเรียนพิเศษคณิตศาสตร์เพิ่มเติมคอมพิวเตอร์ หรือ IMP (ห้อง 6)
* ห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ หรือ MSEP (ห้อง 7-8)
* ห้องเรียนพิเศษคณิตศาสตร์ หรือ EIS (ห้อง 9)
* ห้องเรียนเน้นคณิตศาสตร์ (ห้อง 10)
* ห้องเรียนเน้นภาษาต่างประเทศที่สอง (ห้อง 11-12)
* ห้องเรียน EP เน้นภาษา และคณิตศาสตร์ (ห้อง 13)
* ห้องเรียน EP เน้นวิทยาศาสตร์ (ห้อง 14 และ 15)

== ศิษย์เก่าผู้มีชื่อเสียง<ref>http://www.samsen.or.th/home/</ref> ==

* [[วีรพงษ์ รามางกูร|ดร.'''วีรพงษ์ รามางกูร''']] อดีตรองนายกรัฐมนตรี , อดีต[[รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทย|รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง]]
* [[สุชาติ ตันเจริญ|นายกองเอกสุชาติ ตันเจริญ]] อดีต[[ประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย|รองประธานสภาผู้แทนราษฎ]]ร , อดีต[[รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย|รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย]] , อดีต[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดฉะเชิงเทรา|สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]]<ref>https://www.thairath.co.th/content/393056</ref>
* [[สัมพันธ์ บุญญานันต์|พล.อ.สัมพันธ์ บุญญานันต์]] อดีต[[รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย|รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม]] , อดีต[[รายนามปลัดกระทรวงกลาโหมของไทย|ปลัดกระทรวงกลาโหม]]
* [[ฉัตรชัย พรหมเลิศ|นายกองเอกฉัตรชัย พรหมเลิศ]]ปลัด[[กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)|กระทรวงมหาดไทย]]<ref>http://www.nationtv.tv/main/content/politics/378557142/</ref>
* นายชยพล ธิติศักดิ์ รองปลัด[[กระทรวงมหาดไทย (ประเทศไทย)|กระทรวงมหาดไทย]]<ref>http://www.moi.go.th/portal/page?_pageid=814,1044692,814_1244653&_dad=portal&_schema=PORTAL</ref>
* [[พิเชษฐ์ วิสัยจร|พล.อ.พิเชษฐ์ วิสัยจร]] อดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก, อดีต[[รายนามแม่ทัพภาคที่ 4|แม่ทัพภาคที่ 4]]
* พล.ต.ท. ชัยวัฒน์ เกตุวรชัย ผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ<ref>http://www.newsfreelancer.com/news/7226</ref>
* [[Www.dopns.mi.th/main.htm|พลโทชูชาติ บัวขาว เจ้ากรมยุทธการทหารบก]]<ref>www.dopns.mi.th/main.htm</ref>
* นายภาณุพล รัตนกาญจนภัทร ผู้อำนวยการองค์การตลาด กระทรวงมหาดไทย<ref>https://www.thairath.co.th/content/724133</ref>
* [[ปรีชาพล พงษ์พานิช|ร้อยโทปรีชาพล พงษ์พานิช]] อดีต[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น|สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]] จังหวัดขอนแก่น พรรคเพื่อไทย
* [[สามารถ แก้วมีชัย|นายสามารถ แก้วมีชัย]] อดีต[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงราย|สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]] จังหวัดเชียงราย พรรคเพื่อไทย
* [[ศุภชัย ใจสมุทร|นายศุภชัย ใจสมุทร]] อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคภูมิใจไทย
* [[เชน เทือกสุบรรณ|นายเชน เทือกสุบรรณ]] อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสุราษฎร์ธานี พรรคประชาธิปัตย์
* [[อภิชาต การิกาญจน์|ดร.อภิชาต การิกาญจน์]] อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดนครศรีธรรมราช พรรคประชาธิปัตย์
* [[รังสิมา รอดรัศมี|นางสาวรังสิมา รอดรัศมี]] อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสมุทรสงคราม พรรคประชาธิปัตย์
* [[ณัฎฐ์ บรรทัดฐาน|นายณัฎฐ์ บรรทัดฐาน]] อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดกรุงเทพมหานคร พรรคประชาธิปัตย์
* [[ถิรชัย วุฒิธรรม|ดร.ถิรชัย วุฒิธรรม]] อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัด[[พรรคเพื่อไทย]] และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน สังกัด[[พรรคเพื่อแผ่นดิน]] และกรรมการบริหารการกีฬาแห่งประเทศไทย และ อดีตรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร อดีตอุปนายก[[สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์]] อดีตอุปนายกสมาคมรักบี้ ในพระบรมราชูปถัมภ์
* [[ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย|นายพิศิษฐ์ เสรีวิวัฒนา]] ประธานกรรมการ[[ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย|ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย(Export-Import Bank of Thailand]])<ref>http://www.exim.go.th/th/about_exim/about.aspx</ref>
* นายมงคล ลีลาธรรม  กรรมการผู้จัดการ [[ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย|ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (SME Development Bank หรือ ธพว.)]]<ref>www.smebank.co.th </ref>
* สาริณี อังศุสิงห์ กรรมการผู้อำนวยการใหญ่[[บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด]]<ref>https://www.aerothai.co.th/th/board/%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%93%E0%B8%B5-%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%A8%E0%B8%B8%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B9%8C</ref>
* [[โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย|ธรรมรัตน์ นวมะรัตน์]] อดีตนักร้อง[[วงดนตรีสุนทราภรณ์]] และ[[วงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์]]
* [[พลังพล คงเสรี|รศ.ดร. พลังพล คงเสรี]] รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ของมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเคมีอินทรีย์ ประจำปี พ.ศ. 2546
* [[จิรันดร ยูวะนิยม|ดร. จิรันดร ยูวะนิยม]] รางวัลพระราชทานนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ พ.ศ. 2546 และรางวัลมหิดล พ.ศ. 2547
* [[มนตรี เจนอักษร|นายมนตรี เจนอักษร]] นักแสดง
* [[กรุณพล เทียนสุวรรณ|นายกรุณพล เทียนสุวรรณ]] (เพชร) นักแสดง
* [[ธนชัย ตันตระกูล|นายธนชัย ตันตระกูล]] (ยอด Bodyslam) นักดนตรี มือกีต้าวง Bodyslam
* [[ศิริลักษณ์ ผ่องโชค|น.ส.ศิริลักษณ์ ผ่องโชค]] (จอย) นักร้อง นักแสดง พิธีกร
* [[ตะวัน จารุจินดา|นายตะวัน จารุจินดา]] (เติ้ล) นักร้อง นักแสดง พิธีกร
* [[สิทธิ์ ตันติพิสิฐกุล|นายสิทธิ์ ตันติพิสิฐกุล]] หรือ พาทิศ ตันติพิสิฐกุล [[ไผ่กวนอิม|(ไผ่)]] ดัชชี่บอย และ นักแสดง
* [[วรรณสิงห์ ประเสริฐกุล|นายวรรณสิงห์ ประเสริฐกุล]] (สิงห์) พิธีกร
* [[ธนกฤต พานิชวิทย์|นายธนกฤต พานิชวิทย์]] (ว่าน AF2) นักร้อง นักแสดง พิธีกร
* [[วิญญู วงค์สุรวัฒน์|นายวิญญู วงค์สุรวัฒน์]] (จอห์น) พิธีกร และ นักจัดรายการวิทยุ
* [[ปฏิญญา วิโรจน์แสงประทีป|นายปฏิญญา วิโรจน์แสงประทีป]] (แอม) ดัชชี่บอย และ นักแสดง
* [[โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย|นายพิพัฒน์ อภิรักษ์ธนากร]] (ท็อป) พิธีกร และนักแสดง
* [[เล็ก วงศ์สว่าง|นายเล็ก วงศ์สว่าง]] อดีตนักจัดรายการวิทยุ
* [[เมตตา เต็มชำนาญ|ร.อ.เมตตา เต็มชำนาญ]] อดีตผู้สมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการ [[กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)|กรุงเทพมหานคร]]
* [[ฉายนันท์ มโนมัยสันติภาพ]] (แอม) เชียร์ลีดเดอร์งานบอลประเพณี จุฬา-ธรรมศาสตร์ , พิธีกร และ นักแสดง
* [[ณภัทร โชคจินดาชัย]] (ท็อป) นักแสดง
* [[ธนษิต จตุรภุช]] (ต้น AF8) นักร้อง ผู้ชนะการประกวด True Academy Fantasia Season 8
* [[อรณิชา กรินชัย]] (พราว วง Olives) นักร้อง
* [[ปริศนา กัมพูสิริ]] (โบว์ลิ่ง) [[นางสาวไทย|นางสาวไทยประจำปีพุทธศักราช 2555]]
* [[คงกะพัน แสงสุริยะ]] (หนุ่ม) พิธีกร นักแสดง
* [[ฐาวรา สิริพิพัฒน์|นายฐาวรา สิริพิพัฒน์]] นักเขียน
* [[สุภัสสรา ธนชาติ]] (เก้า) นักแสดงจากฮอร์โมนวัยว้าวุ่น
* [[โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย|สุธิตา ชัยชนะสุวรรณ]] (อิมเมจ) นักร้องจากการประกวด [[เดอะวอยซ์ไทยแลนด์|The voice]] (รองชนะเลิศ)
* [[รัฐศาสตร์ กรสูต]] (เปปเปอร์) นักร้องและนักแสดง วงยูเอชที


== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.samsenwit.ac.th เว็บไซต์โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย]
* [http://www.samsen.or.th/ เว็บไซต์สมาคมผู้ปกครองและครู โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย]
* [http://samsenalumni.org/ เว็บไซต์สมาคมนักเรียนเก่าสามเสนวิทยาลัย]
* [https://www.facebook.com/rordorsamsen/?fref=ts กิจกรรมรักษาดินแดน สามเสนวิทยาลัย]

{{รายชื่อโรงเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์}}

{{เรียงลำดับ|สามเสนวิทยาลัย}}
[[หมวดหมู่:โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ]]
[[หมวดหมู่:โรงเรียนในเขตพญาไท]]
[[หมวดหมู่:โรงเรียนในโครงการ พสวท.]]
[[หมวดหมู่:โรงเรียนที่มีอัตราการแข่งขันสูง]]
[[หมวดหมู่:โรงเรียนมาตรฐานสากล]]
{{สร้างปี|2498}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:33, 29 กรกฎาคม 2560

โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย
ละติน: SamsenwB4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%A2 มาร์ชสามเสน]
แผนที่
ข้อมูล
ผู้บริหารสถานศึกษานางพนัสดา สีมั่น (รองผู้อำนวยการฯรักษาราชการแทนผู้อำนวยการฯ)
ต้นไม้ประจำโรงเรียนต้นนนทรีและบัวสาย
เว็บไซต์http://www.samsenwit.ac.th/

โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย (ย่อ: ส.ส., S.S.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษประเภทสหศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่บนถนนพระรามที่ 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่จำนวน 22 ไร่ 1 งาน 44 ตารางวา

สัญลักษณ์[1]

ตราประจำโรงเรียน

ดวงประทีป เหนืออักษรย่อชื่อโรงเรียนภายในวงกลม มีปรัชญาของโรงเรียนเป็นภาษาบาลี และคำแปลเขียนล้อมวงกลมรอบนอก และชื่อโรงเรียนในแถบโบว์ปลายพลิ้วรูปครึ่ง

  1. http://www.samsenwit.ac.th/about-sc/about2.html