ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตำลึง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Toibisatt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ชื่ออื่น|พืช|หน่วยเงิน|ตำลึง (หน่วยเงิน)}}
{{ชื่ออื่น|พืช|หน่วยเงิน|ตำลึง (หน่วยเงิน)}}อะไรก็ไม่ได้เรื่องใน wiki{{taxobox
{{taxobox
|image = Coccinia grandis.jpg
|image = Coccinia grandis.jpg
|regnum = [[Plant]]ae
|regnum = [[Plant]]ae
บรรทัด 13: บรรทัด 12:
|binomial_authority = ([[Carolus Linnaeus|L.]]) J.Voigt, '''''Bryonia grandis''''' L., '''''Coccinia cordifolia''''' auct. non (L.) Cogn., '''''Coccinia indica''''' Wight & Arn.
|binomial_authority = ([[Carolus Linnaeus|L.]]) J.Voigt, '''''Bryonia grandis''''' L., '''''Coccinia cordifolia''''' auct. non (L.) Cogn., '''''Coccinia indica''''' Wight & Arn.
|}}
|}}

'''ตำลึง''' ({{ชื่อวิทยาศาสตร์|Coccinia grandis}} (L.) Voigt) เป็นไม้เลื้อยที่มีมือจับใช้สำหรับเลื้อยเกาะต้นไม้ใหญ่หรือไม้ปักหลัก มีสีเขียวจัดเป็น[[สมุนไพรไทย]] ตำลึงมีชื่อท้องถิ่นอื่นอีกคือ ผักแคบ ([[ภาคเหนือ]]) แคเด๊าะ ([[กะเหรี่ยง]]และ[[จังหวัดแม่ฮ่องสอน|แม่ฮ่องสอน]]) ตำลึง,สี่บาท ([[ภาคกลาง]]) ผักตำนิน ([[ภาคอีสาน]])

== ลักษณะ ==
ลำต้นเป็นเถาไม้เลื้อยเนื้อแข็ง [[ใบ]]เป็นใบเดี่ยว มีลักษณะเป็น 3 แฉก หรือ 5 แฉก กว้างและยาวประมาณ 4-8 [[เซนติเมตร]] โคนใบมีลักษณะเป็นรูป[[หัวใจ]] มีมือเกาะยื่นออกมาจากที่ข้อ [[ดอก]]เป็นดอกเดี่ยวหรือดอกคู่ มีลักษณะเป็นรูป[[ระฆัง]] กลีบดอก[[สีขาว]] แยกเพศอยู่คนละต้น ดอกออกตรงที่ซอกใบ ลักษณะของผลเป็นวงรีทรงยาว[[สีเขียว]]อ่อน เมื่อยามแก่จัดจะเป็น[[สีแดง]] เป็นที่ชื่นชอบของ[[นก]]นานาชนิด

== การเพาะพันธุ์ ==
* ใช้เมล็ดจากผลแก่หยอดลงในหลุม ปลูกได้ดีใน[[ดินร่วน]]ซุย หลังจากที่ต้นกล้างอกก็ให้หาไม้มาปักเพื่อให้ต้นตำลึงใช้เลื้อย
* นำเถาแก่มาตัดให้ได้ขนาด 4-6 นิ้ว ปักลงในถุงเพาะชำ หลังออกรากและใบงอกแล้วก็นำไปปลูกลงหลุม

== สารเคมี ==
ในตำลึงมีสาร[[เอนไซม์อะไมเลส]] ช่วยในการย่อยแป้ง และในตำลึงก็มีสารอาหารชื่อว่า[[บีตา-แคโรทีน]]

== ประโยชน์ ==
=== สรรพคุณทางยา ===
* ใบใช้ในการแก้ไข้ตัวร้อน ตาแดง ตาเจ็บ
* เถานำน้ำต้มจากเถาตำลึงมาหยอดตาแก้ตาแดง ตาฟาง
* ดอกตำลึงช่วยทำให้หายจาก[[อาการคัน]]ได้
* รากใช้แก้อาการ[[อาเจียน]] ตาฝ้า
* น้ำยางจากต้นและใบช่วยลด[[น้ำตาล]]ใน[[เลือด]]
=== ประกอบอาหาร ===
ยอดนำไปใส่ในแกงจืดกับหมู[[บะช่อ]] ผลตำลึงอ่อนรับประทานได้ รสหวาน ถ้าแก่แล้วจะออกรสขม ผลตำลึงอ่อนนำไป[[แกงเลียง]] [[แกงเผ็ด]] [[แกงคั่ว]] [[แกงเขียวหวาน]] นำไปแช่อิ่มดิบๆหรือดองแบบเดียวกับ[[แตงกวา]] <ref>นิดดา หงส์วิวัฒน์. ตำลึง เจ้าแห่งวิตามินเอในผักสีเขียว. ครัว.ปีที่ 18 ฉบับที่ 205 กรกฎาคม 2554 หน้า 24</ref>

== อ้างอิง ==
{{เริ่มอ้างอิง}}
* ผักสวนครัวไทย.ป้าสงวน.โรงพิมพ์ตั้งตงฮวด.2545,หน้า 43
* http://www.tungsong.com/samunpai/drug/22_Tumlung/Index_Tumlung.html
* http://www.thaigoodview.com/library/studentshow/st2545/5-4/no11/main/tamlung_ya.html
* http://www.catalogueoflife.org/annual-checklist/2013/
{{จบอ้างอิง}}


[[หมวดหมู่:วงศ์แตง]]
[[หมวดหมู่:วงศ์แตง]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:38, 28 มิถุนายน 2560

อะไรก็ไม่ได้เรื่องใน wiki

ตำลึง
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Plantae
ไม่ได้จัดลำดับ: Angiosperms
ไม่ได้จัดลำดับ: Eudicots
ไม่ได้จัดลำดับ: Rosids
อันดับ: Cucurbitales
วงศ์: Cucurbitaceae
สกุล: Coccinia
สปีชีส์: C.  grandis
ชื่อทวินาม
Coccinia grandis
(L.) J.Voigt, Bryonia grandis L., Coccinia cordifolia auct. non (L.) Cogn., Coccinia indica Wight & Arn.