ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บาดทะยัก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13: บรรทัด 13:
| DiseasesDB = 2829
| DiseasesDB = 2829
}}
}}
'''บาดทะยัก''' ({{Lang-en|Tetanus}}) เป็นโรคที่เกิดจากตัว[[เชื้อโรคบาดทะยัก]] (Clostridium tetani) เข้าสู่แผล ทำให้มีอาการกระตุก และชักแข็ง หลังแอ่น โดยมากถึงตาย
'''บาดทะยัก''' ({{Lang-en|Tetanus}}) นาวีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีี[[เชื้อโรคบาดทะยัก|บาดทะยัก]] (Clostridium tetani) เข้าสู่แผล ทำให้มีอาการกระตุก และชักแข็ง หลังแอ่น โดยมากถึงตาย


เชื้อโรคบาดทะยักนั้นเป็น[[พิษประสาท]]ที่ผลิตขึ้นโดย[[แบคทีเรียแกรมบวก]][[Bacillus (shape)|รูปแท่ง]]ชนิดที่[[Anaerobic organism|ไม่ต้องการออกซิเจน]]
เชื้อโรคบาดทะยักนั้นเป็น[[พิษประสาท]]ที่ผลิตขึ้นโดย[[แบคทีเรียแกรมบวก]][[Bacillus (shape)|รูปแท่ง]]ชนิดที่[[Anaerobic organism|ไม่ต้องการออกซิเจน]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:36, 31 พฤษภาคม 2560

บาดทะยัก
(Tetanus)
กล้ามเนื้อที่ได้รับผลกระทบจากบาดทะยักอย่างรุนแรง รูปภาพโดยเซอร์ ชาร์ล เบล
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก
ICD-10A33-A35
ICD-9037, 771.3
DiseasesDB2829
MedlinePlus000615
eMedicineemerg/574

บาดทะยัก (อังกฤษ: Tetanus) นาวีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีีบาดทะยัก (Clostridium tetani) เข้าสู่แผล ทำให้มีอาการกระตุก และชักแข็ง หลังแอ่น โดยมากถึงตาย

เชื้อโรคบาดทะยักนั้นเป็นพิษประสาทที่ผลิตขึ้นโดยแบคทีเรียแกรมบวกรูปแท่งชนิดที่ไม่ต้องการออกซิเจน

การติดเชื้อส่วนใหญ่เกิดขึ้นจากแผลเปิดใหญ่หรือแผลลึก เมื่อมีการติดเชื้อการเกร็งของกล้ามเนื้อจะเกิดขึ้นเป็นลำดับ เริ่มด้วยอาการไม่สามารถกลืนอาหารได้ การเกร็งของกล้ามเนื้อ และการเกร็งในส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย[1] การติดเชื่อสามารถถูกควบคุมได้โดยการให้ภูมิคุ้มกันที่เหมาะสมหรือการฉีดวัคซีน[2]

ความเกี่ยวข้องกับสนิมเหล็ก

มักเป็นที่เชื่อกันว่าบาดทะยักกับสนิมเหล็กมีความเกี่ยวข้องกัน นี้เป็นความเชื่อที่ไม่ถูกต้องนัก โดยทั่วไปแล้ววัตถุที่มีสนิมมักพบอยู่นอกบ้านหรือในบริเวณที่พบแบคทีเรียชนิดไม่ใช้ออกซิเจนอยู่แล้ว แต่ตัวสนิมเองไม่ทำให้เกิดโรคบาดทะยัก รวมถึงไม่ได้มีแบคทีเรีย C. tetani มากกว่าที่อื่น พื้นผิวที่ขรุขระของเหล็กขึ้นสนิมนั้นอาจเป็นแหล่งอาศัยของ endospore ของ C. tetani ได้ และตะปูเหล็กก็มักทิ่มผิวหนังเป็นแผลลึกเอื้อต่อการเจริญเติบโตของแบคทีเรียชนิดไม่ใช้ออกซิเจน จึงทำให้สนิมเหล็กถูกมองว่าเป็นสาเหตุของการเกิดโรคบาดทะยัก ซึ่งไม่เป็นจริงแต่อย่างใด

อ้างอิง

  1. Wells CL, Wilkins TD (1996). Clostridia: Sporeforming Anaerobic Bacilli. In: Baron's Medical Microbiology (Baron S et al, eds.) (4th ed. ed.). Univ of Texas Medical Branch. (via NCBI Bookshelf) ISBN 0-9631172-1-1. {{cite book}}: |edition= has extra text (help)
  2. "Tetanus" (PDF). CDC Pink Book. สืบค้นเมื่อ 2007-01-26.

แหล่งข้อมูลอื่น