ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระหัด"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Awksauce (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5: บรรทัด 5:
สำหรับการเพาะปลูกแล้ว ชาวนาจะใช้ชงโลงหรือระหัดวิดน้ำเข้าแปลงนา การใช้ชงโลงอาจวิดน้ำได้ครั้งละไม่มากนัก และหนักแรงพอสมควร ดังนั้นจึงได้คิดวิธีวิดน้ำหรือชักน้ำโดยการใช้ระหัดขึ้นระหัด มักทำด้วยไม้สัก มีส่วนประกอบที่สำคัญ คือ รางน้ำ ใบระหัด เพลา และมือหมุนรางน้ำ ใช้ไม้สักทำเป็นโครง มีความยาวประมาณ 5 – 6 เมตร ใช้ไม้แผ่นบาง ๆ ตีประกบทั้ง 2 ข้าง ให้รางน้ำซีกข้างบนโปร่ง ด้านล่างตีไม้ทึบ รางน้ำมีความสูงประมาณ 40 – 50 เซนติเมตร
สำหรับการเพาะปลูกแล้ว ชาวนาจะใช้ชงโลงหรือระหัดวิดน้ำเข้าแปลงนา การใช้ชงโลงอาจวิดน้ำได้ครั้งละไม่มากนัก และหนักแรงพอสมควร ดังนั้นจึงได้คิดวิธีวิดน้ำหรือชักน้ำโดยการใช้ระหัดขึ้นระหัด มักทำด้วยไม้สัก มีส่วนประกอบที่สำคัญ คือ รางน้ำ ใบระหัด เพลา และมือหมุนรางน้ำ ใช้ไม้สักทำเป็นโครง มีความยาวประมาณ 5 – 6 เมตร ใช้ไม้แผ่นบาง ๆ ตีประกบทั้ง 2 ข้าง ให้รางน้ำซีกข้างบนโปร่ง ด้านล่างตีไม้ทึบ รางน้ำมีความสูงประมาณ 40 – 50 เซนติเมตร
ใบระหัดหรือใบพัด ตัดไม้แผ่นบางเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาด 30 – 40 ใบ ความกว้างประมาณ 8 – 10 เซนติเมตร ความยาวประมาณ 12 – 15 เซนติเมตร เข้าเดือยใบระหัดแต่ละใบโดยใช้สลักตอกให้แกนใบยึดซึ่งกันและกัน ใบระหัดจะยึดคล้องกันดุจลูกโซ่ มีความยาวเป็น 2 เท่า ของรางน้ำเพลา ทำเป็นท่อนไม้วงกลมใช้ไม้หรือเหล็กเป็นแกน เจาะรูหลวม ๆ ให้หมุนได้สะดวก มีเหลาด้านปลายรางน้ำ 2 เพลา ทำเป็นลักษณะคล้ายฟันเฟือง เพื่อให้ใบระหัดกับฟันเฟืองสับกันไปมา สามารถชักดึงให้ใบระหัดเคลื่อนหมุนได้มือหมุน มือหมุน 2 ข้างจะทำเป็นแกนมีที่จับ เจาะรูยึดกับแกนเพลา ใช้หมุนโดยการดึงสลับข้างกัน เวลาใช้จะวางระหัดด้านปลายจุ่มไปในน้ำให้เอียงทอด ดึงมือหมุนทีละข้างสลับกันไปเรื่อย ๆ แกนเพลาเมื่อหมุนแล้วจะทำให้ฟันเฟืองและใบระหัดหมุนตาม ใบระหัดจะพุ้ยน้ำหรือตักน้ำขึ้นมาในรางและไหลออกตรงช่องมือหมุน การวิดระหัดอาจใช้คนเดียวหรือ 2 คน ช่วยกันหมุน ซึ่งทำให้ผ่อนแรงได้มากการใช้ระหัดวิดน้ำนอกจากใช้เพื่อการเพาะปลูกแล้ว ยังใช้วิดน้ำหาปลาได้อีกด้วย ขณะนี้ไม่นิยมใช้ระหัดวิดน้ำแล้ว เพราะเกษตรกรหันมาใช้เครื่องสูบน้ำเข้ามาแทน
ใบระหัดหรือใบพัด ตัดไม้แผ่นบางเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาด 30 – 40 ใบ ความกว้างประมาณ 8 – 10 เซนติเมตร ความยาวประมาณ 12 – 15 เซนติเมตร เข้าเดือยใบระหัดแต่ละใบโดยใช้สลักตอกให้แกนใบยึดซึ่งกันและกัน ใบระหัดจะยึดคล้องกันดุจลูกโซ่ มีความยาวเป็น 2 เท่า ของรางน้ำเพลา ทำเป็นท่อนไม้วงกลมใช้ไม้หรือเหล็กเป็นแกน เจาะรูหลวม ๆ ให้หมุนได้สะดวก มีเหลาด้านปลายรางน้ำ 2 เพลา ทำเป็นลักษณะคล้ายฟันเฟือง เพื่อให้ใบระหัดกับฟันเฟืองสับกันไปมา สามารถชักดึงให้ใบระหัดเคลื่อนหมุนได้มือหมุน มือหมุน 2 ข้างจะทำเป็นแกนมีที่จับ เจาะรูยึดกับแกนเพลา ใช้หมุนโดยการดึงสลับข้างกัน เวลาใช้จะวางระหัดด้านปลายจุ่มไปในน้ำให้เอียงทอด ดึงมือหมุนทีละข้างสลับกันไปเรื่อย ๆ แกนเพลาเมื่อหมุนแล้วจะทำให้ฟันเฟืองและใบระหัดหมุนตาม ใบระหัดจะพุ้ยน้ำหรือตักน้ำขึ้นมาในรางและไหลออกตรงช่องมือหมุน การวิดระหัดอาจใช้คนเดียวหรือ 2 คน ช่วยกันหมุน ซึ่งทำให้ผ่อนแรงได้มากการใช้ระหัดวิดน้ำนอกจากใช้เพื่อการเพาะปลูกแล้ว ยังใช้วิดน้ำหาปลาได้อีกด้วย ขณะนี้ไม่นิยมใช้ระหัดวิดน้ำแล้ว เพราะเกษตรกรหันมาใช้เครื่องสูบน้ำเข้ามาแทน
ระหัดวิดน้ำอาจมีขนาดสั้นและยาวตามความต้องการของผู้ใช้
ระหัดวิดน้ำอาจมีขนาดสั้นและยาวตามความต้องการของผู้ใช้ 555

อิอิ


== ส่วนประกอบที่สำคัญของกังหันลมแบบระหัดฉุดน้ำ ==
== ส่วนประกอบที่สำคัญของกังหันลมแบบระหัดฉุดน้ำ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:52, 20 เมษายน 2560

กังหันลมและระหัดวิดน้ำ

ระหัด เป็นเครื่องชักน้ำหรือวิดน้ำ ทำด้วยไม้เป็นรางใช้มือหมุน และใช้ถีบด้วยเท้าก็มีการเกษตรกรรมโดยทั่วไปต้องอาศัยน้ำสำหรับทำการเพาะปลูก โดยเฉพาะการทำนาต้องมีน้ำแช่ต้นข้าวจนกระทั่งข้าวออกรวง ชาวนาจะปลูกข้าวในฤดูฝนปีละครั้ง เรียกว่า ข้าวนาปี แต่เมื่อมีการชลประทานดีขึ้นจะปลูกข้าวนอกฤดูฝนอีกด้วย ซึ่งเรียกว่า นาปรัง การใช้ระหัดวิดน้ำมีความสำคัญต่อการทำนาในสมัยก่อนมาก เพราะเมื่อฝนชุกน้ำในแม่น้ำลำคลองจะมีระดับสูงขึ้น หากแปลงนาซึ่งทำคันไว้ไม่สามารถกักเก็บน้ำได้มากพอ

สำหรับการเพาะปลูกแล้ว ชาวนาจะใช้ชงโลงหรือระหัดวิดน้ำเข้าแปลงนา การใช้ชงโลงอาจวิดน้ำได้ครั้งละไม่มากนัก และหนักแรงพอสมควร ดังนั้นจึงได้คิดวิธีวิดน้ำหรือชักน้ำโดยการใช้ระหัดขึ้นระหัด มักทำด้วยไม้สัก มีส่วนประกอบที่สำคัญ คือ รางน้ำ ใบระหัด เพลา และมือหมุนรางน้ำ ใช้ไม้สักทำเป็นโครง มีความยาวประมาณ 5 – 6 เมตร ใช้ไม้แผ่นบาง ๆ ตีประกบทั้ง 2 ข้าง ให้รางน้ำซีกข้างบนโปร่ง ด้านล่างตีไม้ทึบ รางน้ำมีความสูงประมาณ 40 – 50 เซนติเมตร ใบระหัดหรือใบพัด ตัดไม้แผ่นบางเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาด 30 – 40 ใบ ความกว้างประมาณ 8 – 10 เซนติเมตร ความยาวประมาณ 12 – 15 เซนติเมตร เข้าเดือยใบระหัดแต่ละใบโดยใช้สลักตอกให้แกนใบยึดซึ่งกันและกัน ใบระหัดจะยึดคล้องกันดุจลูกโซ่ มีความยาวเป็น 2 เท่า ของรางน้ำเพลา ทำเป็นท่อนไม้วงกลมใช้ไม้หรือเหล็กเป็นแกน เจาะรูหลวม ๆ ให้หมุนได้สะดวก มีเหลาด้านปลายรางน้ำ 2 เพลา ทำเป็นลักษณะคล้ายฟันเฟือง เพื่อให้ใบระหัดกับฟันเฟืองสับกันไปมา สามารถชักดึงให้ใบระหัดเคลื่อนหมุนได้มือหมุน มือหมุน 2 ข้างจะทำเป็นแกนมีที่จับ เจาะรูยึดกับแกนเพลา ใช้หมุนโดยการดึงสลับข้างกัน เวลาใช้จะวางระหัดด้านปลายจุ่มไปในน้ำให้เอียงทอด ดึงมือหมุนทีละข้างสลับกันไปเรื่อย ๆ แกนเพลาเมื่อหมุนแล้วจะทำให้ฟันเฟืองและใบระหัดหมุนตาม ใบระหัดจะพุ้ยน้ำหรือตักน้ำขึ้นมาในรางและไหลออกตรงช่องมือหมุน การวิดระหัดอาจใช้คนเดียวหรือ 2 คน ช่วยกันหมุน ซึ่งทำให้ผ่อนแรงได้มากการใช้ระหัดวิดน้ำนอกจากใช้เพื่อการเพาะปลูกแล้ว ยังใช้วิดน้ำหาปลาได้อีกด้วย ขณะนี้ไม่นิยมใช้ระหัดวิดน้ำแล้ว เพราะเกษตรกรหันมาใช้เครื่องสูบน้ำเข้ามาแทน ระหัดวิดน้ำอาจมีขนาดสั้นและยาวตามความต้องการของผู้ใช้ 555

อิอิ

ส่วนประกอบที่สำคัญของกังหันลมแบบระหัดฉุดน้ำ

  1. ส่วนของใบพัด ก้านใบทำจากไม้ยึดติดกับแกนหมุน ใบรับลมทำจากเสื่อ ลำแพน หรือ ผ้าใบ ปัจจุบันมีการประยุกต์ใช้แผ่นพลาสติก มีจำนวน 6 ใบ แกนหมุนตั้งในแนวนอนอยู่บนเสาไม้
  2. เสาของกังหันลม ทำจากไม้จำนวน 2 ต้น ปักไว้เป็นคู่เพื่อรองรับแกนหมุน
  3. สายพานขับแกนเพลา ทำจากเชือกที่มีความเหนียวและทนต่อแรงเสียดสี ทำหน้าที่ถ่ายแรงจากการหมุนของแกนหมุนไปยังแกนเพลาให้หมุนตามเพื่อใช้ฉุดระหัดไม้
  4. แกนเพลา ทำจากเหล็กหรือไม้กลม วางอยู่บนเสาไม้คู่เหนือพื้นดินที่พอเหมาะ มีซี่ไม้ลักษณะคล้ายเฟืองยึดติดกลางแกนเพลาเพื่อขับหมุนฉุดแผ่นระหัด
  5. ส่วนของรางน้ำและระหัด ทำจากไม้ ลักษณะรางน้ำเป็นกล่องรางไม้ตัวยู (u) หงายขึ้น พาดเฉียงระหว่างท้องน้ำกับพื้นนาเกลือแล้วใช้ไม้แผ่นขนาดเท่าหน้าตัดของกล่องรางน้ำทำระหัดเรียงต่อกันเป็นซี่ ๆ ด้วย เชือก หรือ โซ่ห่างกันพอประมาณเพื่อกักเก็บและฉุดน้ำเคลื่อนตัวจากที่ต่ำขึ้นที่สูง


อ้างอิง