ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มีกอไว กอแปร์ญิก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
PepeBonus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''นิกโคลัส บักแลนด์''' (, {{lang-pl|Mikołaj Kopernik}} ''มิคอวาย คอแปร์ญิก''; 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1473 – 24 พฤษภาคม ค.ศ. 1543) เป็นนักคณิตศาสตร์และนักดาราศาสตร์[[สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา]] ผู้คิดค้นแบบจำลอง[[ระบบดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง]]สมบูรณ์ ซึ่ง[[ดวงอาทิตย์]]เป็นศูนย์กลางของ[[เอกภพ]] มิใช่โลก<ref name="google1">[[#Reference-Linton-2004|Linton]] (2004, pp.&nbsp;[http://books.google.com.au/books?id=aJuwFLGWKF8C&pg=PA39 39],&nbsp;[http://books.google.com.au/books?id=aJuwFLGWKF8C&pg=PA119 119]) อย่างไรก็ดี โคเปอร์นิคัสมิใช่ผู้แรกที่เสนอระบบดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางในบางรูปแบบ นักคณิตศาสตร์และนักดาราศาสตร์ชาวกรีกคนหนึ่ง ชื่อ อริสตาซูสแห่งซามอส ได้เสนอแนวคิดดังกล่าวมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสตกาลแล้ว กระนั้น มีหลักฐานน้อยมากว่าเขาเคยพัฒนาความคิดของเขาไกลเกินแบบร่างง่าย ๆ เท่านั้น [[#Reference-Dreyer-1953|(Dreyer]], 1953, [http://www.archive.org/stream/historyofplaneta00dreyuoft#page/134/mode/2up pp.&nbsp;135–48)].</ref>
{{กล่องข้อมูล นักวิทยาศาสตร์
| name = นิโคเลาส์ โคเปอร์นิคัส
| image = Nikolaus Kopernikus.jpg
| alt =
| caption = รูปคนเหมือน ค.ศ. 1580
| birth_date = [[19 กุมภาพันธ์]] [[ค.ศ. 1473]]
| birth_place = [[ทอรุน]] [[ราชอาณาจักรโปแลนด์ (ค.ศ. 1385-1569)|ราชอาณาจักรโปแลนด์]]
| death_date = [[24 พฤษภาคม]] [[ค.ศ. 1543]]
| death_place = ฟรอมบอร์ก ราชอาณาจักรโปแลนด์
| nationality =
| other_names =
| field = [[คณิตศาสตร์]] [[ดาราศาสตร์]] [[ประมวลกฎหมายโรมันเกี่ยวกับศาสนา]] แพทยศาสตร์ เศรษฐศาสตร์
| known_for = [[ระบบดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง]]
}}
'''นิโคเลาส์ โคเปอร์นิคัส''' ({{lang-la|Nicolaus Copernicus Torinensis}}, {{lang-pl|Mikołaj Kopernik}} ''มิคอวาย คอแปร์ญิก''; 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1473 – 24 พฤษภาคม ค.ศ. 1543) เป็นนักคณิตศาสตร์และนักดาราศาสตร์[[สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา]] ผู้คิดค้นแบบจำลอง[[ระบบดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง]]สมบูรณ์ ซึ่ง[[ดวงอาทิตย์]]เป็นศูนย์กลางของ[[เอกภพ]] มิใช่โลก<ref name="google1">[[#Reference-Linton-2004|Linton]] (2004, pp.&nbsp;[http://books.google.com.au/books?id=aJuwFLGWKF8C&pg=PA39 39],&nbsp;[http://books.google.com.au/books?id=aJuwFLGWKF8C&pg=PA119 119]) อย่างไรก็ดี โคเปอร์นิคัสมิใช่ผู้แรกที่เสนอระบบดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางในบางรูปแบบ นักคณิตศาสตร์และนักดาราศาสตร์ชาวกรีกคนหนึ่ง ชื่อ อริสตาซูสแห่งซามอส ได้เสนอแนวคิดดังกล่าวมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสตกาลแล้ว กระนั้น มีหลักฐานน้อยมากว่าเขาเคยพัฒนาความคิดของเขาไกลเกินแบบร่างง่าย ๆ เท่านั้น [[#Reference-Dreyer-1953|(Dreyer]], 1953, [http://www.archive.org/stream/historyofplaneta00dreyuoft#page/134/mode/2up pp.&nbsp;135–48)].</ref>


การตีพิมพ์หนังสือ ''[[De revolutionibus orbium coelestium]]'' (ว่าด้วยการปฏิวัติของทรงกลมฟ้า) ของโคเปอร์นิคัส ก่อนหน้าที่เขาเสียชีวิตไม่นาน ถูกพิจารณาว่าเป็นเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์ เป็นการเริ่มต้น[[การปฏิวัติโคเปอร์นิคัส]]และมีส่วนสำคัญต่อความรุ่งเรืองของ[[การปฏิวัติวิทยาศาสตร์]]ที่เกิดขึ้นตามมา ทฤษฎีระบบดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางอธิบายกลไกของ[[ระบบสุริยะ]]ในเชิงคณิตศาสตร์ มิใช่ด้วยคำของอริสโตเติล
การตีพิมพ์หนังสือ ''[[De revolutionibus orbium coelestium]]'' (ว่าด้วยการปฏิวัติของทรงกลมฟ้า) ของโคเปอร์นิคัส ก่อนหน้าที่เขาเสียชีวิตไม่นาน ถูกพิจารณาว่าเป็นเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์ เป็นการเริ่มต้น[[การปฏิวัติโคเปอร์นิคัส]]และมีส่วนสำคัญต่อความรุ่งเรืองของ[[การปฏิวัติวิทยาศาสตร์]]ที่เกิดขึ้นตามมา ทฤษฎีระบบดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางอธิบายกลไกของ[[ระบบสุริยะ]]ในเชิงคณิตศาสตร์ มิใช่ด้วยคำของอริสโตเติล

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:52, 16 ธันวาคม 2559

นิกโคลัส บักแลนด์ (, โปแลนด์: Mikołaj Kopernik มิคอวาย คอแปร์ญิก; 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1473 – 24 พฤษภาคม ค.ศ. 1543) เป็นนักคณิตศาสตร์และนักดาราศาสตร์สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา ผู้คิดค้นแบบจำลองระบบดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางสมบูรณ์ ซึ่งดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของเอกภพ มิใช่โลก[1]

การตีพิมพ์หนังสือ De revolutionibus orbium coelestium (ว่าด้วยการปฏิวัติของทรงกลมฟ้า) ของโคเปอร์นิคัส ก่อนหน้าที่เขาเสียชีวิตไม่นาน ถูกพิจารณาว่าเป็นเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์ เป็นการเริ่มต้นการปฏิวัติโคเปอร์นิคัสและมีส่วนสำคัญต่อความรุ่งเรืองของการปฏิวัติวิทยาศาสตร์ที่เกิดขึ้นตามมา ทฤษฎีระบบดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางอธิบายกลไกของระบบสุริยะในเชิงคณิตศาสตร์ มิใช่ด้วยคำของอริสโตเติล

โคเปอร์นิคัสเป็นหนึ่งในผู้เชี่ยวชาญหลายสาขาแห่งสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา เป็นทั้งนักคณิตศาสตร์ นักดาราศาสตร์ นักนิติศาสตร์ที่สำเร็จดุษฎีบัณฑิตในวิกฎหมาย นักฟิสิกส์ ผู้รู้สี่ภาษา นักวิชาการคลาสสิก นักแปล ศิลปิน สงฆ์คาทอลิก ผู้ว่าราชการ นักการทูตและนักเศรษฐศาสตร์

การปฏิวัติทางดาราศาสตร์ของโคเปอร์นิคัส

ในเวลานั้นโคเปอร์นิคัสได้เสนอให้ดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลางของจักรวาลแทนโลกในแนวความคิดเดิม โดยให้ดาวเคราะห์ต่างๆ เช่น โลก ดาวศุกร์ หรือ ดาวพุธ โคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงกลม (ในเวลาต่อมาโยฮันเนส เคปเลอร์ได้เสนอว่าควรเป็นวงรีดั่งโมเดลในปัจจุบัน) ถึงแม้ว่าความแม่นยำในการทำนายด้วยทฤษฎีของโคเปอร์นิคัสนั้นไม่ได้ดีกว่าทฤษฎีเก่าของอริสโตเติลและทอเลมีเลย (ไม่ได้ให้ผลการทำนายตำแหน่งของดวงดาวต่างๆ แม่นยำกว่าทฤษฎีเก่า) แต่ว่าทฤษฎีนี้ ถูกใจนักวิทยาศาสตร์ชื่อดังในยุคนั้นหลายคน เช่น เดส์การตส์ กาลิเลโอ และเคปเลอร์ เนื่องจากว่าทฤษฎีของโคเปอร์นิคัสนั้นเข้าใจง่ายและซับซ้อนน้อยกว่ามาก โดยกาลิเลโอกล่าวว่าเขาเชื่อว่ากฎต่างๆ ในธรรมชาติน่าจะเป็นอะไรที่สวยงามและเรียบง่าย ทฤษฎีโลกเป็นศูนย์กลางดูซับซ้อนมากเกินไปจนไม่น่าเป็นไปได้ (ดูทฤษฎีความอลวนเพิ่มเติม) แนวคิดของกาลิเลโอนี้ ตรงกับหลักการของออคแคม (Ockham's/Occam's razor) ในปรัชญาวิทยาศาสตร์ ซึ่งถูกนำมาประยุกต์ใช้ในงานวิจัยด้านการเรียนรู้ของเครื่อง

เกียรติยศ

โคเปอร์นิคัสได้รับเกียรติจากประเทศโปแลนด์ ให้เป็นชื่อมหาวิทยาลัยในทอรูน ตั้งในปี ค.ศ. 1945 ชื่อของเขาเป็นชื่อธาตุตัวที่ 112 ที่ IUPAC ได้ประกาศไป

อ้างอิง

  1. Linton (2004, pp. 39119) อย่างไรก็ดี โคเปอร์นิคัสมิใช่ผู้แรกที่เสนอระบบดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางในบางรูปแบบ นักคณิตศาสตร์และนักดาราศาสตร์ชาวกรีกคนหนึ่ง ชื่อ อริสตาซูสแห่งซามอส ได้เสนอแนวคิดดังกล่าวมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสตกาลแล้ว กระนั้น มีหลักฐานน้อยมากว่าเขาเคยพัฒนาความคิดของเขาไกลเกินแบบร่างง่าย ๆ เท่านั้น (Dreyer, 1953, pp. 135–48).

บรรณานุกรม

  • Dreyer, John Louis Emil (1953) [1905]. A History of Astronomy from Thales to Kepler. New York, NY: Dover Publications.
  • Linton, Christopher M. (2004). From Eudoxus to Einstein—A History of Mathematical Astronomy. Cambridge: Cambridge University Press. ISBN 978-0-521-82750-8.

แหล่งข้อมูลอื่น