ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 19: บรรทัด 19:


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
คณะนิติศาสตร์ [[มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม]]มีวิวัฒนาการสืบเนื่องมานับตั้งแต่ พ.ศ. 2538 กล่าวคือ วิทยาลัยครูมหาสารคามยกฐานะเป็นสถาบันราชภัฏมหาสารคาม จึงได้จัดตั้งภาควิชาเศรษฐศาสตร์และการเมือง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ขึ้น แต่ยังไม่ได้จัดการเรียนการสอนสาขานิติศาสตร์ ต่อมาภาควิชาเศรษฐศาสตร์และการเมืองได้เปิดสอนหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต (นิติศาสตร์) เป็นรุ่นแรกในปี พ.ศ. 2543 หลังจากการการยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามเมื่อปี พ.ศ. 2547 ได้มีการเปลี่ยนแปลงภายในคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ขึ้น โดยได้ยุบภาควิชาเศรษฐศาสตร์และการเมืองจัดตั้งเป็น 2 โปรแกรมวิชา คือ โปรแกรมวิชารัฐประศาสนศาสตร์และโปรแกรมวิชานิติศาสตร์
คณะนิติศาสตร์ [[มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม]]มีวิวัฒนาการสืบเนื่องมานับตั้งแต่ พ.ศ. 2538 กล่าวคือ วิทยาลัยครูมหาสารคามยกฐานะเป็นสถาบันราชภัฏมหาสารคาม จึงได้จัดตั้งภาควิชาเศรษฐศาสตร์และการเมือง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ขึ้น แต่ยังไม่ได้จัดการเรียนการสอนสาขานิติศาสตร์ ต่อมาภาควิชาเศรษฐศาสตร์และการเมืองได้เปิดสอนหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต (นิติศาสตร์) เป็นรุ่นแรกในปี พ.ศ. 2543 หลังจากการการยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามเมื่อปี พ.ศ. 2547 ได้มีการเปลี่ยนแปลงภายในคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ขึ้น โดยได้ยุบภาควิชาเศรษฐศาสตร์และการเมืองจัดตั้งเป็น 2 โปรแกรมวิชา คือ โปรแกรมวิชารัฐประศาสนศาสตร์และโปรแกรมวิชานิติศาสตร์ (กากไม่มีมาตรฐานและคุณภาพเรียนไหนก็ได้ที่ไม่ใช่นิติศาสตร์)
ปัจจุบันคณะนิติศาสตร์ ตั้งอยู่อาคารคณะนิติศาสตร์ (ตึก8) [[มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม]]

ต่อมาเมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2552 หลักสูตรสาขาวิชานิติศาสตร์ร่วมกับหลักสูตรสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์และหลักสูตรสาขาวิชารัฐศาสตร์ ซึ่งเป็นหลักสูตรวิชาชีพและกึ่งวิชาชีพได้ขอแยกจากคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เพื่อให้เกิดความคล่องตัวและมีประสิทธิภาพในการบริหารงาน รวมทั้งรองรับความเติบโตของหน่วยงาน จึงมีการรวมหลักสูตรสาขาวิชาทั้ง 3 หลักสูตรเพื่อยกฐานะขึ้นเป็นหน่วยงานภายใน เรียกว่า วิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง มีฐานะเทียบเท่าคณะ ซึ่งได้รับการอนุมัติจัดตั้งขึ้นตั้งแต่วันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2552 โดยให้มีผลตั้งแต่วันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2552 ตามระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ว่าด้วย วิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง พ.ศ. 2552<ref>{{http://office.rmu.ac.th/uppdf/Rule%20for%20UPpdf/8/C0026-8.pdf/ ระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ว่าด้วย วิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง พ.ศ. 2552 }}</ref>

ต่อมาเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 ได้เปลี่ยนชื่อ "วิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง" เป็น "คณะนิติศาสตร์" ตามประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม เรื่องเปลี่ยนชื่อ "วิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง" เป็น "คณะนิติศาสตร์" ลงวันที่ 5 มิถุนายน 2557 โดยให้มีผลเป็นคณะนิติศาสตร์ ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 เป็นต้นไป และสภามหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามได้ตราข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ว่าด้วย คณะนิติศาสตร์ พ.ศ. 2557 เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2557<ref>{{http://office.rmu.ac.th/uppdf/Rule%20for%20UPpdf/8/A0064-8.pdf/ ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ว่าด้วย คณะนิติศาสตร์ พ.ศ. 2557 }}</ref>

ปัจจุบันคณะนิติศาสตร์ ตั้งอยู่อาคารคณะนิติศาสตร์ (อาคาร 33) [[มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม]]


== สัญลักษณ์ ==
== สัญลักษณ์ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:44, 2 ตุลาคม 2559

คณะนิติศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
Faculty of Law, Rajabhat Maha Sarakham University
ชื่อย่อนต., FOL
สถาปนา• พ.ศ. 2543 – โปรแกรมวิชานิติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

• 19 มิถุนายน พ.ศ. 2552 - หลักสูตรสาขาวิชานิติศาสตร์ วิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง

• 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 – คณะนิติศาสตร์
คณบดีผศ. ดร.วิทยา เจริญศิริ
ที่อยู่
อาคารคณะนิติศาสตร์ (อาคาร 33) มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม เลขที่ 80 ถนนนครสวรรค์ ตำบลตลาด อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม
สี  สีชมพู
มาสคอต
ตราชู
เว็บไซต์คณะนิติศาสตร์

คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม เป็นส่วนงานประเภทคณะของมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม จัดตั้งขึ้นตามประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม เรื่องเปลี่ยนชื่อ "วิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง" เป็น "คณะนิติศาสตร์" ลงวันที่ 5 มิถุนายน 2557 โดยให้มีผลเป็นคณะนิติศาสตร์ ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 เป็นต้นไป [1] มีรากฐานมาจากภาควิชาเศรษฐศาสตร์และการเมือง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ต่อมา พ.ศ. 2543 แยกจากภาควิชารัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มาเปิดสอนโดยเอกเทศเป็นโปรแกรมวิชานิติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ในปี พ.ศ. 2552 แยกจากคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จัดตั้งเป็นวิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง ร่วมกับหลักสูตรสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์และหลักสูตรสาขาวิชารัฐศาสตร์ โดยมีฐานะเป็น หลักสูตรสาขาวิชานิติศาสตร์ วิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง และในวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 เปลี่ยนชื่อจากวิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง เป็น คณะนิติศาสตร์ ปัจจุบัน เปิดสอนระดับปริญญาตรี

ประวัติ

คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามมีวิวัฒนาการสืบเนื่องมานับตั้งแต่ พ.ศ. 2538 กล่าวคือ วิทยาลัยครูมหาสารคามยกฐานะเป็นสถาบันราชภัฏมหาสารคาม จึงได้จัดตั้งภาควิชาเศรษฐศาสตร์และการเมือง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ขึ้น แต่ยังไม่ได้จัดการเรียนการสอนสาขานิติศาสตร์ ต่อมาภาควิชาเศรษฐศาสตร์และการเมืองได้เปิดสอนหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต (นิติศาสตร์) เป็นรุ่นแรกในปี พ.ศ. 2543 หลังจากการการยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามเมื่อปี พ.ศ. 2547 ได้มีการเปลี่ยนแปลงภายในคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ขึ้น โดยได้ยุบภาควิชาเศรษฐศาสตร์และการเมืองจัดตั้งเป็น 2 โปรแกรมวิชา คือ โปรแกรมวิชารัฐประศาสนศาสตร์และโปรแกรมวิชานิติศาสตร์ (กากไม่มีมาตรฐานและคุณภาพเรียนไหนก็ได้ที่ไม่ใช่นิติศาสตร์) ปัจจุบันคณะนิติศาสตร์ ตั้งอยู่อาคารคณะนิติศาสตร์ (ตึก8) มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

สัญลักษณ์

  • สัญลักษณ์ประจำคณะ

ตราชู หมายถึง ความรับผิดชอบในการผดุงความยุติธรรมให้สถิตเสถียร สม่ำเสมอ ไม่เอนเอียงไปข้างฝ่ายใดด้วยอคติ รูปตราชูจึงเป็นเครื่องหมายที่ยอมรับกันโดยทั่วไป ในการนำมาประกอบตราชูแห่งความยุติธรรม

  • สีประจำคณะ

  สีชมพู

  • ต้นไม้/ดอกไม้ประจำคณะ

ต้นชมพูพันธุ์ทิพย์/ดอกชมพูพันธุ์ทิพย์

ปรัชญา

สร้างนักกฎหมายให้มีความรู้คู่คุณภาพ คุณธรรม นำสังคมพัฒนา

วิสัยทัศน์

คณะนิติศาสตร์ เป็นโรงเรียนสอนกฎหมาย (School of law) ที่สร้างนักกฎหมายรุ่นใหม่ให้มีความรู้คู่คุณธรรม มุ่งนำวิชาชีพกฎหมายสู่การพัฒนาตนเองและสังคมได้อย่างยั่งยืน

อัตลักษณ์

FOL ซึ่งเป็นอักษรย่อภาษาอังกฤษของคณะ คือ Faculty of Law มีความหมาย ดังนี้

F คือ Fair หมายถึง ซื่อสัตย์ ยุติธรรม

O คือ Order หมายถึง มีระเบียบวินัย

L คือ Leadership หมายถึง ภาวะผู้นำ

หลักสูตร

นายสุวนัย ทะคำสอน ประธานบริหารหลักสูตรสาขาวิชานิติศาสตร์ (20 พฤศจิกายน 2558 - ปัจจุบัน)

ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก

หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต (น.บ.)

  • สาขาวิชานิติศาสตร์ (ภาคปกติ)
  • สาขาวิชานิติศาสตร์ (ภาคสมทบ, ภาค กศ.บป.)

หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต (น.ม.)

หลักสูตรนิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต (น.ด.)

การรับรองคุณภาพการศึกษา

คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามได้ผ่านการรับรองคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาจากองค์กรวิชาชีพต่าง ๆ ได้แก่

1. สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา

2. สภาทนายความ (ประเทศไทย)

3. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)

4. สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (กพ.)

ทำเนียบผู้บริหารในปัจจุบัน

ทำเนียบผู้บริหารคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
ชื่อ ตำแหน่ง

1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิทยา เจริญศิริ คณบดี
2. อาจารย์กริช สินธุศิริ รองคณบดีฝ่ายบริหารและพัฒนานักศึกษา
3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์บุญชนะ ยี่สารพัฒน์ รองคณบดีฝ่ายวิชาการ
4. อาจารย์ว่าที่ร้อยตรีวิษณุ บาคาล รองคณบดีฝ่ายพัฒนาแผนงานและประกันคุณภาพ
5. อาจารย์สุวนัย ทะคำสอน ประธานบริหารหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต
6. อาจารย์วุฒิกร เดชกวินเลิศ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษา
7. อาจารย์พิทักษ์ ธรรมะ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายบริการวิชาการและฝึกทักษะทางวิชาชีพ
8. อาจารย์จักรพงศ์ ลิ้มสุวรรณ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนาวิชาการ
9. อาจารย์เชิดวงศ์ บัวเบิก ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายพัฒนาแผนงานและประกันคุณภาพ
10. อาจารย์จิรสุดา ไชยทุม ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการและฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

ทำเนียบคณบดี

ทำเนียบคณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
ชื่อ ระยะเวลาอยู่ในตำแหน่ง

1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิทยา เจริญศิริ พ.ศ. 2557– ปัจจุบัน
2.

หมายเหตุ คำนำหน้านามของผู้ดำรงตำแหน่งคณบดีเป็นคำนำหน้านามตามตำแหน่งทางวิชาการในขณะรับตำแหน่ง

กิจกรรมและองค์กรนักศึกษา

องค์กรนักศึกษา

คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม มีองค์กรนักศึกษา ดังนี้

1. สโมสรนักศึกษาคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

2. ชมรมนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

กิจกรรมนักศึกษา

คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามมีกิจกรรมนักศึกษาที่โดดเด่น ดังนี้

1. วันรพี

2. วันต้นกล้านักกฎหมาย

3. พิธีไหว้ครูและพิธีมอบเข็มกลัดตราชูและเนคไท

4. กีฬาประเพณีสานสัมพันธ์นิติศาสตร์ มรม.-มมส.

5. กิจกรรมรับน้อง

6. ละครศาลจำลอง

7. กิจกรรมสืบสานประเพณีลอยกระทง

8. กีฬาน้องใหม่และกีฬาระหว่างคณะ

เกียรติประวัติ

ผู้สำเร็จการศึกษาเป็นนิติศาสตรบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ได้แยกย้ายกันไปประกอบอาชีพต่าง ๆ กัน เป็นผู้พิพากษา อัยการ ทนายความ อาจารย์สอนวิชากฎหมาย ที่ปรึกษากฎหมาย นิติกร ข้าราชการตามกระทรวง ทบวง กรม ต่าง ๆ ประกอบอาชีพธุรกิจเอกชน ฯลฯ ได้สร้างผลงานและชื่อเสียงให้เป็นที่ปรากฏแก่วงการต่าง ๆ และยังเป็นบัณฑิตที่สำเร็จนิติศาสตรบัณฑิตของมหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งแรกที่สามารถสอบไล่ได้เป็นผู้ช่วยผู้พิพากษา จากมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 40 แห่งอีกด้วย

ศิษย์เก่าที่สร้างชื่อเสียงให้กับมหาวิทยาลัย

1. นายฉลาด ทานาวิน สอบไล่ได้เป็นผู้ช่วยผู้พิกษา, สอบไล่เนติบัณฑิตไทย ได้ลำที่ 9 สมัยที่ 59 [2]

2. นายกฤษณ์ ภูตลาดขาม สอบไล่ได้เป็นผู้ช่วยผู้พิกษา, สอบใบประกาศนียบัตรวิชาชีพทนายความ ได้ลำดับที่ 1 [3]

3. นายสุริยันต์ หงสาคู สอบไล่ได้เป็นผู้ช่วยผู้พิกษา

4. นายทัศน์ทวี ยอดทหาร สอบไล่ได้เป็นอัยการผู้ช่วย

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

อ้างอิง

  1. {{http://office.rmu.ac.th/uppdf/Rule%20for%20UPpdf/8/B0075-8.pdf/ ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม เรื่องเปลี่ยนชื่อ "วิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง" เป็น "คณะนิติศาสตร์" }}
  2. {{http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2556/E/013/19.PDF/ ราชกิจจานุเบกษา ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งข้าราชการตุลาการ เล่มที่ 130 ตอนพิเศษ 13 ง ลงวันที่ 29 มกราคม 2556 }}
  3. {{http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2556/E/013/19.PDF/ ราชกิจจานุเบกษา ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งข้าราชการตุลาการ เล่มที่ 130 ตอนพิเศษ 13 ง ลงวันที่ 29 มกราคม 2556 }}