ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มลพิษทางดิน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Jutharat Waiyawat (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Thanomsri Tenwong (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
'''มลพิษทางดิน''' หรือ '''การปนเปื้อนในดิน'''( [[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]:Soil pollution ) มีสาเหตุจากการมีสารเคมีที่มนุษย์สร้างหรือการเปลี่ยนแปลงอื่นในสิ่งแวดล้อมดินธรรมชาติ ตรงแบบเกิดจากกิจกรรมอุตสาหกรรม สารเคมีเกษตรกรรมหรือการกำจัดของเสียอย่างไม่เหมาะสม สารเคมีที่เกี่ยวข้องมากที่สุด คือ [[ไฮโดรคาร์บอน]]ปิโตรเลียม พอลินิวเคลียร์อะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน (เช่น [[แนฟทาลีน]]และ[[เบนโซไพโรซีน]]) ตัวทำละลาย ยาฆ่าแมลง [[ตะกั่ว]]และ[[โลหะหนัก]]อื่น การปนเปื้อนสัมพันธ์กับระดับการพัฒนาอุตสาหกรรมและระดับการใช้สารเคมี <ref>https://en.wikipedia.org/wiki/Soil_contamination</ref> ดินถูกพัดพาไปยังแหล่งน้ำดินที่เป็นมลสารจะก่อให้เกิดปัญหา[[มลพิษทางน้ำ]]โดยตรงทั้งทางคุณภาพและปริมาณอีกทั้งยังก่อให้เกิดปัญหาโดยอ้อมเมื่ออนุภาคดินนั้นมีธาตุอาหารที่ส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืชน้ำก่อให้เกิดภาวะขาดออกซิเจนในแหล่งน้ำสัตว์น้ำในแหล่งน้ำนั้นได้รับผลกระทบเกิด กลิ่นเหม็นของ [[ก๊าซไข่เน่า]] (hydrogen sulfide, H2S) <ref>http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/ecology/chapter4/chapter4_soil7.htm</ref>
'''มลพิษทางดิน''' หรือ '''การปนเปื้อนในดิน'''( [[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]:Soil pollution ) มีสาเหตุจากการมีสารเคมีที่มนุษย์สร้างหรือการเปลี่ยนแปลงอื่นในสิ่งแวดล้อมดินธรรมชาติ ตรงแบบเกิดจากกิจกรรมอุตสาหกรรม สารเคมีเกษตรกรรมหรือการกำจัดของเสียอย่างไม่เหมาะสม สารเคมีที่เกี่ยวข้องมากที่สุด คือ [[ไฮโดรคาร์บอน]]ปิโตรเลียม พอลินิวเคลียร์อะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน (เช่น [[แนฟทาลีน]]และ[[เบนโซไพโรซีน]]) ตัวทำละลาย ยาฆ่าแมลง [[ตะกั่ว]]และ[[โลหะหนัก]]อื่น การปนเปื้อนสัมพันธ์กับระดับการพัฒนาอุตสาหกรรมและระดับการใช้สารเคมี <ref>https://en.wikipedia.org/wiki/Soil_contamination</ref> ดินถูกพัดพาไปยังแหล่งน้ำดินที่เป็นมลสารจะก่อให้เกิดปัญหา[[มลพิษทางน้ำ]]โดยตรงทั้งทางคุณภาพและปริมาณอีกทั้งยังก่อให้เกิดปัญหาโดยอ้อมเมื่ออนุภาคดินนั้นมีธาตุอาหารที่ส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืชน้ำก่อให้เกิดภาวะขาดออกซิเจนในแหล่งน้ำสัตว์น้ำในแหล่งน้ำนั้นได้รับผลกระทบเกิด กลิ่นเหม็นของ [[ก๊าซไข่เน่า]] (hydrogen sulfide, H2S) <ref>http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/ecology/chapter4/chapter4_soil7.htm</ref>
[[File:Litter.JPG|thumb|upright=1.4|ตัวอย่างการทิ้ง[[ขยะ]]ลงบน[[ดิน]] ซึ่งเป็นหนึ่งสาเหตุทำให้เกิดการปนเปื้อนในดิน]]
[[File:Litter.JPG|thumb|upright=1.4|ตัวอย่างการทิ้ง[[ขยะ]]ลงบน[[ดิน]] ซึ่งเป็นหนึ่งสาเหตุทำให้เกิดการปนเปื้อนในดิน]]
==สาเหตุหลักของการเกิดมลพิษทางดิน==<ref>http://www.conserve-energy-future.com/causes-and-effects-of-soil-pollution.php</ref>
การปนเปื้อนในดินส่งผลโดยตรงทำให้เกิดมลพิษขึ้น ซึ่งมีสาเหตุ ดังนี้
===สาเหตุจากธรรมชาติ===
เป็นแหล่งที่เกิดมลพิษโดยธรรมชาติ ไม่ได้เกิดจากฝีมือมนุษย์ ซึ่งการเกิดมลพิษจากธรรมชาติมีผลกระทบน้อยมากตัวอย่าง เช่น
*'''ฝนกรด({{Acid rain}})'''เกิดจากน้ำฝนในธรรมชาติเป็นตัวทำละลายแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์และแก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์ เกิดเป็นสารละลายที่มีสมบัติเป็นกรด ฝนกรดจะละลายปุ๋ยในดิน นอกจากนี้แล้วอาจจะยังละลายสารพิษอื่น ๆ ที่มีอยู่ทั่วไปในดิน เช่นอะลูมิเนียม (aluminum: Al) และปรอท (mercury: Hg) ทำให้กิดการปนเปื้อนในดิน<ref>https://th.wikipedia.org/wiki/ฝนกรด</ref>
*'''ปฏิกิริยาชีวเคมีในดิน''' เช่น ดินที่มีน้ำท่วมขังอยู่บ่อยๆ ทำให้เกิดการสะสมของกรด เกิดเป็นดินกรด
*'''เกิดจากหินต้นกำเนิด ({{Parent materials}})'''
===สาเหตุจากการกระทำของมนุษย์===
มนุษย์เป็นต้นเหตุที่ก่อให้เกิดปัญหามลพิษในดินมากที่สุด เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของประชากรมนุษย์และการขยายตัวของอุตสาหกรรม ดังนี้
*'''โรงงานอุตสาหกรรม({{Industrial Activity}})''' เช่น การทำเหมืองแร่ การบด การทำให้แร่เข้มข้นขึ้น การทิ้งหางแร่ การจัดการที่ไม่เหมาะสมย่อมทำลายให้โลหะหนักปนเปื้อนในพื้นที่เกษตรกรรม<ref>http://knowledgeshowcase.org/</ref>
*'''กิจกรรมทางการเกษตร({{Agricultural Activities}})''' เช่น การใช้ปุ๋ยเคมี หรือยาฆ่าแมลง ซึ่งมีโอการสตกค้างในดินสูงมาก กระทรวงสาธารณสุขเคยรายงานว่าใน 1 ปี มีผู้เสียชีวิตเนื่องจากพิษของวัตถุมีพิษระหว่าง 200 - 400 คน และมีแนวโน้มจะเพิ่มจำนวนขึ้นเรื่อยๆ <ref>http://reg.ksu.ac.th/teacher/anurak/Lesson3.htm</ref>
*'''การกำจัดของเสีย({{Waste Disposal}})''' เช่น การทิ้งขยะ มลพิษทางดินส่วนใหญ่เกิดจากการทิ้งขยะที่เกิดจากสารเคมีซึ่งยากต่อการย่อยสลาย เช่น กระป๋อง เศษโลหะ และพลาสติก ขยะเหล่านี้จะสะสมในดินจนทำให้เกิดภาวะมลพิษทางดิน นอกจากนี้ปริมาณขยะที่เพิ่มขึ้นหากไม่มีการกำจัดที่ถูกวิธีจะส่งผลกระทบให้เกิดมลพิษทางดินมากขึ้น<ref>http://pollutiongroup.weebly.com/15.html</ref>
*'''อุบัติเหตุน้ำมันรั่วไหล({{Accidental Oil Spills}})'''


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:29, 2 พฤศจิกายน 2558

การขุดดินแสดงให้เห็นการปนเปื้อนในดิน ณ โรงผลิตแก๊สที่ไม่ใช้แล้ว

มลพิษทางดิน หรือ การปนเปื้อนในดิน( อังกฤษ:Soil pollution ) มีสาเหตุจากการมีสารเคมีที่มนุษย์สร้างหรือการเปลี่ยนแปลงอื่นในสิ่งแวดล้อมดินธรรมชาติ ตรงแบบเกิดจากกิจกรรมอุตสาหกรรม สารเคมีเกษตรกรรมหรือการกำจัดของเสียอย่างไม่เหมาะสม สารเคมีที่เกี่ยวข้องมากที่สุด คือ ไฮโดรคาร์บอนปิโตรเลียม พอลินิวเคลียร์อะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน (เช่น แนฟทาลีนและเบนโซไพโรซีน) ตัวทำละลาย ยาฆ่าแมลง ตะกั่วและโลหะหนักอื่น การปนเปื้อนสัมพันธ์กับระดับการพัฒนาอุตสาหกรรมและระดับการใช้สารเคมี [1] ดินถูกพัดพาไปยังแหล่งน้ำดินที่เป็นมลสารจะก่อให้เกิดปัญหามลพิษทางน้ำโดยตรงทั้งทางคุณภาพและปริมาณอีกทั้งยังก่อให้เกิดปัญหาโดยอ้อมเมื่ออนุภาคดินนั้นมีธาตุอาหารที่ส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืชน้ำก่อให้เกิดภาวะขาดออกซิเจนในแหล่งน้ำสัตว์น้ำในแหล่งน้ำนั้นได้รับผลกระทบเกิด กลิ่นเหม็นของ ก๊าซไข่เน่า (hydrogen sulfide, H2S) [2]

ตัวอย่างการทิ้งขยะลงบนดิน ซึ่งเป็นหนึ่งสาเหตุทำให้เกิดการปนเปื้อนในดิน

==สาเหตุหลักของการเกิดมลพิษทางดิน==[3] การปนเปื้อนในดินส่งผลโดยตรงทำให้เกิดมลพิษขึ้น ซึ่งมีสาเหตุ ดังนี้

สาเหตุจากธรรมชาติ

เป็นแหล่งที่เกิดมลพิษโดยธรรมชาติ ไม่ได้เกิดจากฝีมือมนุษย์ ซึ่งการเกิดมลพิษจากธรรมชาติมีผลกระทบน้อยมากตัวอย่าง เช่น

  • ฝนกรด(แม่แบบ:Acid rain)เกิดจากน้ำฝนในธรรมชาติเป็นตัวทำละลายแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์และแก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์ เกิดเป็นสารละลายที่มีสมบัติเป็นกรด ฝนกรดจะละลายปุ๋ยในดิน นอกจากนี้แล้วอาจจะยังละลายสารพิษอื่น ๆ ที่มีอยู่ทั่วไปในดิน เช่นอะลูมิเนียม (aluminum: Al) และปรอท (mercury: Hg) ทำให้กิดการปนเปื้อนในดิน[4]
  • ปฏิกิริยาชีวเคมีในดิน เช่น ดินที่มีน้ำท่วมขังอยู่บ่อยๆ ทำให้เกิดการสะสมของกรด เกิดเป็นดินกรด
  • เกิดจากหินต้นกำเนิด (แม่แบบ:Parent materials)

สาเหตุจากการกระทำของมนุษย์

มนุษย์เป็นต้นเหตุที่ก่อให้เกิดปัญหามลพิษในดินมากที่สุด เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของประชากรมนุษย์และการขยายตัวของอุตสาหกรรม ดังนี้

  • โรงงานอุตสาหกรรม(แม่แบบ:Industrial Activity) เช่น การทำเหมืองแร่ การบด การทำให้แร่เข้มข้นขึ้น การทิ้งหางแร่ การจัดการที่ไม่เหมาะสมย่อมทำลายให้โลหะหนักปนเปื้อนในพื้นที่เกษตรกรรม[5]
  • กิจกรรมทางการเกษตร(แม่แบบ:Agricultural Activities) เช่น การใช้ปุ๋ยเคมี หรือยาฆ่าแมลง ซึ่งมีโอการสตกค้างในดินสูงมาก กระทรวงสาธารณสุขเคยรายงานว่าใน 1 ปี มีผู้เสียชีวิตเนื่องจากพิษของวัตถุมีพิษระหว่าง 200 - 400 คน และมีแนวโน้มจะเพิ่มจำนวนขึ้นเรื่อยๆ [6]
  • การกำจัดของเสีย(แม่แบบ:Waste Disposal) เช่น การทิ้งขยะ มลพิษทางดินส่วนใหญ่เกิดจากการทิ้งขยะที่เกิดจากสารเคมีซึ่งยากต่อการย่อยสลาย เช่น กระป๋อง เศษโลหะ และพลาสติก ขยะเหล่านี้จะสะสมในดินจนทำให้เกิดภาวะมลพิษทางดิน นอกจากนี้ปริมาณขยะที่เพิ่มขึ้นหากไม่มีการกำจัดที่ถูกวิธีจะส่งผลกระทบให้เกิดมลพิษทางดินมากขึ้น[7]
  • อุบัติเหตุน้ำมันรั่วไหล(แม่แบบ:Accidental Oil Spills)

อ้างอิง

  1. https://en.wikipedia.org/wiki/Soil_contamination
  2. http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/ecology/chapter4/chapter4_soil7.htm
  3. http://www.conserve-energy-future.com/causes-and-effects-of-soil-pollution.php
  4. https://th.wikipedia.org/wiki/ฝนกรด
  5. http://knowledgeshowcase.org/
  6. http://reg.ksu.ac.th/teacher/anurak/Lesson3.htm
  7. http://pollutiongroup.weebly.com/15.html