ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อนุกรมลู่ออก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tegel (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 2A03:2880:3010:BFF5:FACE:B00C:0:1 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนห...
D^p8tttttt887^ggg123 (คุย | ส่วนร่วม)
ตัวอย่างอนุกรมลู่ออก
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
ในทาง[[คณิตศาสตร์]] '''อนุกรมลู่ออก''' เป็น[[อนุกรม]]ที่ไม่[[อนุกรมลู่เข้า|ลู่เข้า]] นั่นคือ[[ลำดับ]]อนันต์ของผลบวกจำกัดพจน์ไม่สามารถหา[[ลิมิต]]ที่เป็นจำนวนจำกัดได้
ในทาง[[คณิตศาสตร์]] '''อนุกรมลู่ออก''' เป็น[[อนุกรม]]ที่ไม่[[อนุกรมลู่เข้า|ลู่เข้า]] นั่นคือ[[ลำดับ]]อนันต์ของผลบวกจำกัดพจน์ไม่สามารถหา[[ลิมิต]]ที่เป็นจำนวนจำกัดได้


หากอนุกรมหนึ่งลู่เข้า แต่ละพจน์ของอนุกรมจะต้องลู่เข้าสู่ศูนย์ ดังนั้นอนุกรมที่แต่ละพจน์ไม่ลู่เข้าสู่ศูนย์จะลู่ออกเสมอ อย่างไรก็ตาม บทกลับนั้นไม่เป็นจริง อนุกรมที่แต่ละพจน์ลู่เข้าสู่ศูนย์นั้นไม่จำเป็นต้องลู่เข้า ตัวอย่างค้านเช่น [[ลำดับฮาร์โมนิก]]
หาก[[อนุกรม]]หนึ่งลู่เข้า แต่ละ[[พจน์]]ของ[[อนุกรม]]จะต้องลู่เข้าสู่[[ศูนย์]] ดังนั้น[[อนุกรม]]ที่แต่ละพจน์ไม่[[อนุกรมลู่เข้า|ลู่เข้า]]สู่[[ศูนย์]]จะลู่ออกเสมอ อย่างไรก็ตาม บทกลับนั้นไม่เป็นจริง อนุกรมที่แต่ละพจน์ลู่เข้าสู่[[ศูนย์]]นั้นไม่จำเป็นต้อง [[อนุกรมลู่เข้า|ลู่เข้า]] ตัวอย่างค้านเช่น [[อนุกรมฮาร์โมนิก]]

:<math>1 + \frac{1}{2} + \frac{1}{3} + \frac{1}{4} + \frac{1}{5} + \cdots =\sum_{n=1}^\infty\frac{1}{n}.</math>
:<math>1 + \frac{1}{2} + \frac{1}{3} + \frac{1}{4} + \frac{1}{5} + \cdots =\sum_{n=1}^\infty\frac{1}{n}.</math>
==ตัวอย่าง[[อนุกรมลู่ออก]]==
*[[อนุกรมฮาร์โมนิก]] เป็น [[อนุกรมลู่ออก]] เพราะ
<math display=block>\begin{alignat}{8}
1 & + \frac{1}{2} && + \frac{1}{3} && + \frac{1}{4} && + \frac{1}{5} && + \frac{1}{6} && + \frac{1}{7} && + \frac{1}{8} && + \frac{1}{9} && + \cdots \\[5pt]


{} \geq 1 & + \frac{1}{2} && + \frac{1}{\color{red}{\mathbf{4}}} && + \frac{1}{4} && + \frac{1}{\color{red}{\mathbf{8}}} && + \frac{1}{\color{red}{\mathbf{8}}} && + \frac{1}{\color{red}{\mathbf{8}}} && + \frac{1}{8} && + \frac{1}{\color{red}{\mathbf{16}}} && + \cdots \\[5pt]
\end{alignat}</math>
<math display=block>\begin{align}
& 1 + \left(\frac{1}{2}\right) + \left(\frac{1}{4} + \frac{1}{4}\right) + \left(\frac{1}{8} + \frac{1}{8} + \frac{1}{8} + \frac{1}{8}\right) + \left(\frac{1}{16} + \cdots + \frac{1}{16}\right) + \cdots \\[5pt]
{} = {} & 1 + \frac{1}{2} + \frac{1}{2} + \frac{1}{2} + \frac{1}{2} + \cdots.
\end{align}</math>
และ เนื่องจาก "พจน์ ของ [[ผลรวม]] มีเป็น[[อนันต์]]" [[ผลรวม]] จึงเป็น "[[อนันต์]]"เช่นกัน
== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
* [[อนุกรม]]
* [[อนุกรม]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:19, 21 เมษายน 2566

ในทางคณิตศาสตร์ อนุกรมลู่ออก เป็นอนุกรมที่ไม่ลู่เข้า นั่นคือลำดับอนันต์ของผลบวกจำกัดพจน์ไม่สามารถหาลิมิตที่เป็นจำนวนจำกัดได้

หากอนุกรมหนึ่งลู่เข้า แต่ละพจน์ของอนุกรมจะต้องลู่เข้าสู่ศูนย์ ดังนั้นอนุกรมที่แต่ละพจน์ไม่ลู่เข้าสู่ศูนย์จะลู่ออกเสมอ อย่างไรก็ตาม บทกลับนั้นไม่เป็นจริง อนุกรมที่แต่ละพจน์ลู่เข้าสู่ศูนย์นั้นไม่จำเป็นต้อง ลู่เข้า ตัวอย่างค้านเช่น อนุกรมฮาร์โมนิก

ตัวอย่างอนุกรมลู่ออก

และ เนื่องจาก "พจน์ ของ ผลรวม มีเป็นอนันต์" ผลรวม จึงเป็น "อนันต์"เช่นกัน

ดูเพิ่ม