ผู้ใช้:Upnan/ทดลองเขียน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

รัชกาลที่ 22[แก้]

พระญาท้าวขาก่าน
รัชสมัยที่ 5
ภายใต้การปกครองของล้านนา
เจ้าผู้ครองนครเมืองน่าน
พระองค์ที่ 22
อภิเษกพ.ศ. 2019
เสวยราชย์พ.ศ. 2019-2023
รัชกาล4 ปี
อิสริยยศเจ้าประเทศราช
ฐานันดรศักดิ์เจ้าเมืองน่าน
รัชกาลก่อนพระญาหลวงคำ
รัชกาลถัดไปพระญาอ้ายยวม
เจ้านครเมืองน่าน
สถาปนา18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2446
ดำรงอิสริยยศพ.ศ. 2446-2461
รัชกาล15 ปี
พระยาน่าน
สถาปนา21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2436
ดำรงอิสริยยศพ.ศ. 2436 - 2446
รัชกาล10 ปี
ประสูติ2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2378
สวรรคต5 เมษายน พ.ศ. 2461
คุ้มหลวงนครน่าน
อัครเทวีแม่เจ้าสุนันทาอัครเทวี
พระราชบุตร40 พระองค์
พระนามเต็ม
สมเด็จพระเสฏฐบรมบพิตรเจ้ามหาชีวิต องค์อนันตวรฤทธิเดช กุลเชษฐมหันต์ ชัยนันทเทพ บรมมหาราชพงษาธิบดี มหาอิสราธิปติในสิริชัยนันทเทพบุรี
วัดประจำรัชกาล
วัดหลวงประจำนคร วัดพระธาตุช้างคำวรวิหาร
ราชวงศ์ณ น่าน สายที่ 1
พระราชบิดาเจ้าอนันตวรฤทธิเดชฯ เชษฐชัยนันทราชวงษาธิบดี
พระราชมารดาแม่เจ้าสุนันทรามหาเทวี
ศาสนาพุทธ

พระประวัติ[แก้]

ประวัติ พญาขาก่าน เจ้าผู้ครองนครน่าน เมื่อพระเจ้าติโลกราช เจ้าเมืองเชียงใหม่กรีฑา ทัพมาเมืองน่าน เจ้าเมืองน่าน เห็นเหลือบ่าเกินกำลังที่จะรับศึก ครั้งนี้ได้ จึงอพยพผู้คนจากเมืองน่านไปพึ่งพิงเจ้า เมืองเชลียงในอาณาจักรสุโขทัย เมื่อพระเจ้าติโลกราชกรีฑาทัพเข้ายึดเมืองน่าน โดยไม่สูญเสียเลือดเนื้อทั้งทหารกับอาณา ราษฏร จึงดำริที่จะสร้างถาวรวัตถุเป็นที่ระลึก โดยครั้ง แรก ทรงต้องการทุบทิ้งเจดีย์ที่วัดสวนตาลและ ก่อสร้างขึ้นมาใหม่แบบเชียงใหม่ครอบเจดีย์ องค์เดิมเอาไว้ แต่ได้รับการคัดค้านจากขุนนางเสนาบดีที่ตาม ทัพมาครั้งนี้ โดยเสนอกราบบังคมทูลว่า ถ้าจะ เฉลิมพระเกียรติให้ระบือไปทั้งแผ่นดิน ควรสร้าง พระพุทธรูปที่หล่อด้วยโลหะที่มีขนาดความใหญ่ มากที่สุดในแผ่นดินล้านนาที่พระองค์ปกครอง อยู่ ในที่สุดพระเจ้าติโลกราชเห็นด้วย จึงประการ รวบรวมสารพัดวัสดุี่ทำด้วยทองเหลือง ทอง สำริด มาเพื่อหล่อพระพุทธรูปที่วัดสวนตาล เมื่อได้โลหะมากตามที่ต้องการ จึงขึ้นหุ่น พระพุทธรูปและหลอมโลหะเทลงไปในเบ้าพิมพ์ ช่างน่าประหลาด อัศจรรย์ใจนัก ที่ช่างเมือง เชียงใหม่ ไม่สามารถหล่อพระพุทธรูปออกมา เป็นองค์ได้สำเร็จ หล่อครั้งใด เบ้าพิมพ์ก็แตก เสียหายทุกครั้ง พระเจ้าติโลกราชจึงตั้งศาลเพียงตา อาราธนา ทวยเทพเทวดามาช่วยในการหล่อในครั้งนี้ ครั้นรุ่งขึ้น ก่อนสว่าง ไห้มีกลุ่มชีปะขาว มาช่วย

กันหล่อพระพุทธรูปจนเป็นผลสำเร็จ ไม่มีร่องรอย การแตกพิมพ์ใดๆนเบ้าเลย เมื่อผู้คนมาที่ปะรำพิธี ร่างของชีปขาวเหล่านั้น ค่อยๆเลือนหายไปจากสายตา พระเจ้าติโลกราชจึงโปรดให้รอจนโลหะเย็นตัว ลง จากนั้นได้ทุบเบ้าพิมพ์ จนได้พระพุทธรูปที่ สวยงามอย่างไม่มีที่ติ ศิลปะสุโขทัยผสม เชียงแสน ที่งดงามตระการตา โปรดให้มีการสมโภชพระพุทธรูปสิบวันสิบคืน และพระราชทานนามให้เป็นมงคลว่า...พระเจ้า ทองทิพย์ หลังจากนั้น พระองค์ได้จัดการการปกครองบ้าน เมืองใหม่ และมอบอำนาจให้ทหารเอกคู่ใจ นาม พญาขาก่าน เป็นผู้ปกครองดูแลเมืองน่าน อันตัวพญาขาก่านท่านนี้ มีความรู้ ความสามารถ ในการจับช้าง เลี้ยงช้างและฝึกสอนช้าง จนไม่มี ใครเสมอเหมือน และเมืองน่านในขณะนั้น จากดินแดนอันกว้าง ใหญ่ไปถึงหลวงพระบาง มีช้างป่าจำนวนมาก ช้างเหล่านั้น ล้วนเป็นช้างงา หมาะแก่การนำไป ฝึกเป็นช้างศึก พญาขาก่านสามารถจับช้างได้ปีละหลายร้อย เชือก จนเป็นประโยชน์แก่กองทัพเมืองน่านและ เชียงใหม่ในการรบเพื่อป้องกันอาณาจักรและ ขยายอาณาจักร เป็นอย่างยิ่ง ดังจะยกตัวอย่างบางเรื่องในเกร็ดพงศวดาร เมืองน่านและเชียงใหม่มาเล่าให้ฟัง เมื่อกองทัพเวียด(หายถึงเวียตนาม ใน อาณาจัก รนามเวียต)ได้ยกกองทัพจำนวน สองแสนคน มา รุกรานหลวงพระบาง และสามารถยึดได้อย่าง ง่ายดาย จึงย่ามใจ นำกำลังกองทัพเข้ามา รุกรานเมืองน่าน ทันที ขณะนั้น กำลังพลเมืองน่าน มีไม่ถึงสองหมื่นคน พญาขาก่านจึงใช้ยุทธวิธี นำกำลังเข้าโจมตีแล้ว แกล้งแพ้ให้ตาม จากนั้นนำกองทัพช้างมหาศาล ซุ่มในป่า วิ่งไล่เหยียบทับเวียด จนระส่ำระสาย พญาขาก่านได้กระโดดขึ้นหลังช้างไปมา

บัญชาการรบ เมื่อพบตัวหัวหน้าทัพเวียดจีงเข้า ประชิดติดตัว ตัดหัวด้วยดาบ ล้มตายเป็นจำนวน มาก

กองทัพเวียดแตกกระเจิงไม่มีกำลังใจเข้าต่อสู้อีก ได้หนีและวางอาวุธยอมจำนนเป็นจำนวนมาก ที่เหลือไม่กล้าติดตามรบกับเมืองน่านอีกเพราะ ทราบมาว่า ทัพใหญ่จากเชียงใหม่ กำลังเดินทาง มาใกล้จะถึงแล้ว เมื่อพระเจ้าติโลกราชมาถึง พญขาก่านได้นำหัว แม่ทัพชาวเวียดที่ล้มตายในคั้งนี้ไปมอบให้ ในที่ นี้ มีหัวแม่ทัพคนสำคัญที่จีนต้องการตัวมาก พระเจ้าติโลกราชจึงโปรดให้นำศรีษะเหล่านั้น ใส่โอ่งดองด้วยน้ำผึ้งส่งไปจีน ทำให้จีนประกาศยกย่องให้พระเจ้าติโลกราช เป็น อ๋องแห่งบูรพาทิศ มีอำนาจรองไปจาก กษัตริย์จีนคนเดียว เหตุใดต้องเรียกท่านว่า พญาขาก่าน เพราะ ท่าน เรียนทุกสรรพวิทยาคมทั้งเก่งกล้า ทั้งเหนียว สุด ประมาณ โดยเฉพาะที่ตะโพก ลงมาขาอ่อนถึง น่อง ท่าน สักหมึกดำเด็มไปหมด คนทั่วไปจึง เรียกท่านว่า ท้าวขาก่านมาตั้งแต่อยู่เชียงใหม่ วาระสุดท้ายของวีรบุรุษ จากวีรกรรมครั้งนี้ ทำให้พะเจ้าติโลกราช หวาดระแวงในความสามารถของพญาผาก่าน จึงถอดท่านออกจากตำแหน่ง แล้วมอบให้ไปกิน เมืองเชียงราย ซึ่งอยู่ใกล้เชียงใหม่แทน คิดในแง่ดี ก็อาจนำตัวไปเพื่อสะดวกในการเรียก ไปทำศึกสงครามกับ พระบรมไตรโลกนาถ แห่ง อยุธยา หากมองอีกแง่มุมหนึ่ง การไปอยู่เชียงรายที่ไม่มี บทบาทใดๆในรัฐศาสตร์และการสงคราม (เพราะศูนย์กลางอำนาจ ไปอยู่ที่เชียงใหม่แล้ว) เท่ากับว่า นำท่านควบคุมตัวไว้เพื่อป้องกันการ เป็นกบถแข็งตัวออกจากเชียงใหม่ ก็ได้ ปัจจุบัน ท่านมีอนุสาวรีย์อยู่ในหอนักรบ ที่ วัด พระบรมธาตุแช่แห้ง รูปหล่อนี้มีตนไปสักการะ บูชาไม่ขาดและมีคนไปบนบานสานกล่าวให้ได้

เป็นนักรบคือ สอบเข้าเรียนในโรงเรียนนายสิบ อยู่เสมอๆ

รัชกาลที่ 12[แก้]

เจ้าอนันตวรฤทธิเดช ฯ
เชษฐชัยนันทราชวงษาธิบดี
รัชกาลที่ 12
ราชวงศ์ติ๋นมหาวงศ์
เจ้าผู้ครองนครเมืองน่าน
พระองค์ที่ 62
ราชาภิเษก14 พฤษภาคม พ.ศ. 2395
ครองราชย์พ.ศ. 2395 - พ.ศ. 2435
รัชกาล39 ปี
อิสริยยศเจ้าประเทศราช
ฐานันดรศักดิ์เจ้านครเมืองน่าน
รัชกาลก่อนพระยามหาวงษาธิราช
รัชกาลถัดไปพระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชฯ เชษฐนันทมหาราชวงษาธิบดี
เจ้านครเมืองน่าน
สถาปนา18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2446
ดำรงอิสริยยศพ.ศ. 2446-2461
รัชกาล15 ปี
พระยาน่าน
สถาปนา21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2436
ดำรงอิสริยยศพ.ศ. 2436 - 2446
รัชกาล10 ปี
ประสูติ2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2378
สวรรคต5 เมษายน พ.ศ. 2461
คุ้มหลวงนครน่าน
อัครเทวีแม่เจ้าสุนันทาอัครเทวี
พระราชบุตร40 พระองค์
พระนามเต็ม
สมเด็จพระเสฏฐบรมบพิตรเจ้ามหาชีวิต องค์อนันตวรฤทธิเดช กุลเชษฐมหันต์ ชัยนันทเทพ บรมมหาราชพงษาธิบดี มหาอิสราธิปติในสิริชัยนันทเทพบุรี
วัดประจำรัชกาล
วัดหลวงประจำนคร วัดพระธาตุช้างคำวรวิหาร
ราชวงศ์ณ น่าน สายที่ 1
พระราชบิดาเจ้าอนันตวรฤทธิเดชฯ เชษฐชัยนันทราชวงษาธิบดี
พระราชมารดาแม่เจ้าสุนันทรามหาเทวี
ศาสนาพุทธ

รัชกาลที่ 13[แก้]

พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชกุลเชษฐมหันต์ฯ
ชัยนันทบุรมหาราชวงษาธิบดี
รัชกาลที่ 13
ราชวงศ์ติ๋นมหาวงศ์
เจ้าผู้ครองนครเมืองน่าน
พระองค์ที่ 63
ราชาภิเษก21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2436
ครองราชย์พ.ศ. 2436 - พ.ศ. 2461
รัชกาล25 ปี
อิสริยยศพระเจ้าประเทศราช
ฐานันดรศักดิ์พระเจ้านครเมืองน่าน
รัชกาลก่อนเจ้าอนันตวรฤทธิเดชฯ เชษฐชัยนันทราชวงษาธิบดี
รัชกาลถัดไปเจ้ามหาพรหมสุรธาดาฯ เอกโยนกมหานคราธบดี
พระเจ้านครเมืองน่าน
สถาปนา18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2446
ดำรงอิสริยยศพ.ศ. 2446-2461
รัชกาล15 ปี
เจ้านครเมืองน่าน
สถาปนา21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2436
ดำรงอิสริยยศพ.ศ. 2436 - 2446
รัชกาล10 ปี
ประสูติ2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2378
สวรรคต5 เมษายน พ.ศ. 2461
คุ้มหลวงนครน่าน
อัครเทวีแม่เจ้ายอดหล้าอัครเทวี
พระราชบุตร41 พระองค์
พระนามเต็ม
พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช กุลเชษฐมหันต์ ไชยนันทบุระมหา ราชวงษาธิบดี สุจริตจารีราชานุภาวรักษ์ วิบุลยศักดิกิตติไพศาล ภูบาลบพิตร์ สถิตย์ ณ นันทราชวงษ์ พระเจ้านครเมืองน่าน
วัดประจำรัชกาล
วัดหลวงประจำนคร วัดพระธาตุช้างคำวรวิหาร
ราชวงศ์ณ น่าน สายที่ 1
พระราชบิดาเจ้าอนันตวรฤทธิเดชฯ เชษฐชัยนันทราชวงษาธิบดี
พระราชมารดาแม่เจ้าสุนันทรามหาเทวี
ศาสนาพุทธ

รัชกาลที่ 14[แก้]

เจ้ามหาพรหมสุรธาดาฯ
เอกโยนกมหานคราธิบดี เจ้านครน่าน
รัชกาลที่ 14
ราชวงศ์ติ๋นมหาวงศ์
เจ้าผู้ครองนครเมืองน่าน
พระองค์ที่ 64
ราชาภิเษก17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2462
ครองราชย์พ.ศ. 2462 - พ.ศ. 2474
รัชกาล13 ปี
อิสริยยศเจ้าประเทศราช
ฐานันดรศักดิ์เจ้านครน่าน
รัชกาลก่อนพระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชฯ เชษฐชัยนันทมหาราชวงษาธิบดี
รัชกาลถัดไปเจ้าราชบุตรนครน่าน
(เจ้าหมอกฟ้า ณ น่าน) รั้งเจ้าผู้ครองนคร
เจ้านครน่าน
สถาปนา17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2462
ดำรงอิสริยยศพ.ศ. 2462-2474
รัชกาล13 ปี
เจ้าอุปราชนครน่าน
สถาปนา21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2443
ดำรงอิสริยยศพ.ศ. 2443 - 2462
รัชกาล10 ปี
ประสูติ17 สิงหาคม พ.ศ. 2389
สวรรคต17 กันยายน พ.ศ. 2474
สิริชนม์มายุ 84 ปี
อัครเทวีแม่เจ้าศรีโสภาอัครเทวี
พระราชบุตร9 พระองค์
พระนามเต็ม
เจ้ามหาพรหมสุรธาดา นันทบุราธิวาศวงศ์ บรมราชประสงค์สฤษดิรักษ์ นิตยสวามิภักดิ์อาชวาศัย ประสาสนนัยวิจิตร กิติคุณาดิเรก เอกโยนกมหานคราธิบดี เจ้านครน่าน
วัดประจำรัชกาล
วัดหลวงประจำนคร วัดพระธาตุช้างคำวรวิหาร
ราชวงศ์ณ น่าน สายที่ 3
พระราชบิดาเจ้าอนันตวรฤทธิเดชฯ เชษฐชัยนันทราชวงษาธิบดี
พระราชมารดาแม่เจ้าขอดแก้วเทวี
ศาสนาพุทธ

เจ้าอุปราชสิทธิสาร[แก้]

เจ้าอุปราชนครเมืองน่าน
(เจ้าสิทธิสาร ณ น่าน)
เจ้าอุปราชนครเมืองน่าน
ราชวงศ์ติ๋นนันทวงศ์
เจ้าสิทธิสาร ณ น่าน
เจ้าอุปราชนครเมืองน่าน
อุปราชาภิเษก17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2462
ดำรงยศพ.ศ. 2436 - 2442
รัชสมัย6 ปี
อิสริยยศเจ้าอุปราชประเทศราช
ฐานันดรศักดิ์เจ้าอุปราชนครเมืองน่าน
ก่อนหน้าเจ้าอุปราชนครเมืองน่าน
(เจ้าสุริยะ ณ น่าน)
ถัดไปเจ้าอุปราชนครเมืองน่าน
(เจ้ามหาพรหม ณ น่าน)
เจ้าราชวงษ์นครน่าน
สถาปนา17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2434
ดำรงยศพ.ศ. 2434-2436
ระยะเวลา2 ปี
ประสูติ17 สิงหาคม พ.ศ. 2378
สวรรคต17 ตุลาคม พ.ศ. 2442
สิริอายุ 65 ปี
ชายาเจ้านางบงกชชายา
พระราชบุตร2 องค์
พระนามเต็ม
เจ้าอุปราชนครเมืองน่าน (เจ้าสิทธิสาร ณ น่าน)
วัดประจำรัชกาล
วัดหลวงประจำนคร วัดพระธาตุช้างคำวรวิหาร
พระราชบิดาเจ้าอนันตวรฤทธิเดชฯ เชษฐชัยนันทราชวงษาธิบดี
พระราชมารดาแม่เจ้าสุนันทาอัครเทวี
ศาสนาพุทธ