ข้ามไปเนื้อหา

ผู้ใช้:Pittayarut Kaewpoung/กระบะทราย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

อุดมการณ์ทางการเมือง Political Ideology[แก้]

อุดมการณ์[แก้]

มีจุดมุ่งหมายที่มีความสำคัญ แน่วแน่ ตั้งมั่นไว้เพื่อปฏิบัติตามจุดมุ่งหมายที่สำคัญเพื่อให้บรรลุจุดประสงค์หรืออุดมการณ์เปรียบเสมือนกฎระเบียบที่วางไว้เป็นแนวปฏิบัติให้ปฏิบัติตามเป้าหมายเพื่อให้ได้ผลตามที่กำหนดไว้[1] เดอ ท็อคเคอวิลล์(De Tocqueville)กล่าวว่า"หากปราศจากอุดมการณ์แล้ว สังคมมิอาจจะตั้งอยู่ เจริญเติบโตต่อไปได้เหตุที่ว่า เมื่อมนุษย์ไม่มี[2]มั่นร่วมกันในความคิดอันใดอันหนึ่ง มนุษย์ก็มิอาจดำเนินการใดๆร่วมกันได้ เมื่อขาดพฤติกรรมดังกล่าว มนุษย์ยังคงมีอยู่แต่ปราศจากสิ่งที่รู้กันที่เรียกว่า สังคม"[แก้]

อุดมการณ์ทางการเมือง([3]:Political Ideology)[แก้]

เป็นสิ่งที่จำเป็นและมีความสำคัญอย่างหนึ่งที่มีการพัฒนาด้านการเมืองของประเทศต่างๆเพราะว่าอุดมการณ์ทางการเมืองเสมือนจุดหมายด้านการปกครองประเทศ อุดมการณ์ทางการเมืองเปรียบเสมือนกฎและแรงบันดาลใจ [4]หลักเกณฑ์ในการดำเนินการและดำเนินงานทางการเมืองของประชาชนทุกคนในประเทศให้เข้าใจในอุดมการณ์ทางการเมืองและนำมาปฏิบัติ ยึดถือหลักอุดมการณ์นั้น[แก้]

ความสำคัญบทบาทหน้าที่ของอุดมการณ์ทางการเมือง[แก้]

อุดมการณ์ทางการเมืองเปรียบเสมือตัวขับเคลื่อนองค์กรโดยมีความเชื่อทางการเมืองที่มีความเกี่ยวข้องกับการปกครองบ้านเมือง มีวัตถุประสงค์ ข้อแตกต่างการนำอุดมการณ์มาใช้เพื่อให้บรรลุจุดประสงค์เราสามารถแยกแยะจากอุดมการณ์เห็นได้ชัดว่าอุดมการณ์ทาง[5]มีลักษณะเป็นส่วนสำคัญและยังเป็นตัวการทำให้[6]มีความเชื่อฟังและกระทำตามและยังสามารถสร้างความเชื่อมั่นให้มีความแน่นอน มีบทบาทที่สำคัญสามารถนำพาประเทศไปในทางสูงต่ำมีความชัดเจน การร่วมมือในมิติสังคมและยังมีบทบาทเป็นแนวคิดนำไปสู่การประยุกต์ให้เข้ากับแบบแผนการพัฒนาประเทศ[แก้]

โครงสร้างของทางการเมือง[แก้]

ความคิดความเชื่อที่มีแบบแผนหลักการและคุณค่าทางการเมืองที่เกิดประโยชน์ให้กับสังคมวิถีชีวิตทางการเมืองโดยมุ่งหมายกำหนด[7]ทางการเมืองและการปกครองอธิบาย ปัญหา เสนอแนะ แนวทางแก้ไขเชื่อฟังและปฏิบัติตามยอมรับสิ่งต่างๆมีการพลักดันให้เป็นด้วยหลักการ จุดมุ่งหมาย แบบแผนการปฏิบัติคณะการทำงาน คัดสรรมาจากกระบวนการที่ได้มาตราฐานหรือมาจากการยอมรับ[8]เพื่อการปฏิบัติงานที่ได้ประสิทธิภาพสอดคล้องกับอุดมการณ์กลไกการควบคุม มีกลไลการควบคุมที่มีมาตรฐานสูงเพื่อควบคุมการทำงานของคณะการทำงานให้ได้ประสิทธิภาพสูงที่สุดโดยมุ่งเน้นทำงานนจุดมุ่งหมายหรือกระบวนการ แบบแผนเพื่อให้ผลตามที่ปฏิบัติ[แก้]

ส่วนประกอบสำคัญ[แก้]

  1. ลักษณะเด่นชัดเป็นหลักการที่ชัดเจนตรงไปตรงมา
  2. เป็นระบบมีการวางแผนดำเนินการตามแผนที่วางไว้
  3. เชื่อมโยงกันมีการประติดปะต่อหลักการให้มีความสอดคล้อง
    อุดมการณ์เปรียบเสมือนกลยุทธ์ในการพัฒนาประเทศชุดหนึ่งเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงปกป้องพัฒนาให้ประเทศกระจายอำนาจทางการเมืองให้มีความทั่วถึงกัน มีลักษณะสนับสนุนหรือต่อต้านคัดค้านการเปลี่ยนแปลงโดยอุดมการณ์มักจะมีการเชื่อมโยงจากคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง

องค์ประกอบของอุดมการณ์ทางการเมือง[แก้]

  • ค่านิยม(Value)ทุกอุดมการณ์ต่างจะต้องมีค่านิยมยึดถือเป็นหลักเหนี่ยวรั้งกฎเกณฑ์ในการตัดสินความคิด การกระทำ ความเชื่อและยังสามารถใช้อุดมการณ์เป็นข้ออ้างในการเชิญชวนออกความคิดเห็นเพื่อปกป้อง ต่อต้านและยับยั้งความคิดเห็นที่ไม่ตรงกัน
  • มโนทัศน์ ความเชื่อของมนุษย์โดยอ้างจากธรรมชาติองตนโดยต้องมีการเลือกตัวแทนนโยบายที่เป็นไปได้ แน่วแน่มีความเป็นจริงมากที่สุดเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยมีการเปิดโอกาสให้มีการเปิดเผยข้อมูลเพื่อความเท็จจริงต่อการตรวจสอบนโยบายและความคิดของนักการเมือง ดังนั้น ประชาชนควรเลือกแนวทางที่ดีที่สุดให้กับตนเองและประเทศชาติ
  • วิสัยทัศน์ ในอุดมการณ์หรือแผนการพัฒนาของอุดมการณ์ต่างๆสังคมการเมืองการปกครองจะต้องมีลักษณะที่ดีมีประโยชน์กับประเทศชาติมากที่สุดเพื่อความเป็นอยู่ของประชาชนถึงจะไม่ทั้งหมดแต่ควรเป็นส่วนมากที่ได้รับผลประโยชน์นั้น
  • ยุทธศาสตร์ แต่ละอุดมการณ์มีกลยุทธ์ไว้สำหรับการเปลี่ยนแปลงให้สังคม ประเทศของตนมีความอยู่ที่ดีมั่นคง มียุทธศาสตร์รองรับปัญหาที่จะเกิดโดยไม่ได้คาดฝันที่จะเกิดขึ้นเพื่อรับมือกับปัญหานั้นอย่างทันและง่ายต่อการแก้ไขปัญหาอยางง่ายดาย
    [9]

ประเภทองอุดมการณ์ทางการเมือง[แก้]

  • อนุรักษ์นิยมเป็นอุดมการณ์ที่จะปกป้อง ป้องกันลดความเลื่อมล้ำของการเปลี่ยนแปลงจากอุดมการณ์แบบเก่า สังคมแบบเก่าไปสู่อุดมการณ์ปบบใหม่ สังคมแบบใหม่โดยมีปัจจัยที่มีความไม่คงที่ในการหาเหตุผลยึดถือเหตุผลเป็นหลักมากกว่าสิ่งอื่นโดยเน้นความชำนาญความเฉลียวฉลาดใช้อำนาจระหว่างสังคมและรัฐบาลให้อยู่ภายใต้ความเม่าเทียมกันโดยไม่ให้มีความเลื่อมล้ำในอำนาจใดอำนาจหนึ่งโดยเน้นอำนาจสถานภาพการถือครองทรัพย์สินให้มีความเป็นหนึ่งเดียวกันโดยคนในสังคมถูกกำหนดโดยข้อกำหนดและคำชี้นำบทบาทต่างๆ เช่น ครอบครัว ซึ่งรัฐบาลทำหน้าที่ชี้นำสังคมให้มีความสงบสุสู่การเปลี่ยนแปลงที่ดี
  • เสรีนิยม เสรีนิยม.เป็นอุดมการณ์เน้นเสรีภาพองบุคคลอย่างสูง โดยรัฐบาลมีบทบาทกำจัดการกระทบกระเทือนของเสรีภาพและเสรีนิยมเชื่อว่าโยธรรมชาติของมนุษย์มุ่งทำดี สนับสนุนโอกาส ความเท่าเทียม เสรีนิยมสามารถแบ่งได้ 2 แนวคิด
  • เสรีนิยมแบบดั้งเดิม คือการยอมรับปัจจัยต่างๆ เช่น เศรษฐกิจ การเมือง การมีความเชื่อถือ อำนาจต่างส่งผลกระทบต่อเสรีภาพส่วนบุคคลโดยมีหลักการดังนี้
  • เคารพในเหตุผล มีความรู้ความเข้าใจในหลักของเหตุผล
  • การเปลี่ยนแปลง เชื่อในการเปลี่ยนแปลงทำให้เกิดความก้าวหน้า
  • สิทธิ เชื่อในสิทธิของมนุษย์โดยใช้หลักการความเสมอภาค
  • เสรีนิยมแบบใหม่ เป็นแนวคิดไปในทางประชาธิปไตยยอมให้รัฐบาลมาก้าวก่ายสิทธิเสรีภาพรัฐบาลสามารถวางแผน ควบคุม เศรษฐกิจแรงงานโดยทุกอย่างขึ้นอยู่กับการพิจารณาของรัฐบาลหรือภาครัฐ[10]
  • สังคมนิยม สังคมนิยมเป็นอุดมการณ์ที่เกิดจากเสรีนิยมกับอนุรักษ์นิยมมารวมตัวกันเพื่อผลประโยชน์ของคนในสังคมและสังคมประเทศชาติ
  • อำนาจนิยม รัฐบาลเข้ามาดูแลความประพฤติองประชาชนอย่างเด็ดขาดเพื่อความมั่นคงองประเทศเพื่อสังคม บุคลากร ประเทศชาติต้องมีคุณภาพที่ดีกว่าโดยเน้นความมั่นคงของทหารใช้อำนาจเด็ดขาดทางการทหารในการตัดสินใจ

เป้าหมายของอุดมการณ์[แก้]

เป้าหมายของอุดมการณ์ทางการเมืองไม่ว่าจะประเทศไหนหรืออุดมการณ์แบบไหนต่างก็มีเป้าหมายเพื่อความสงบสุขผลประโยชน์ของประชาชนและประเทศชาติ รวมทั้งความเป็นอยู่การดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษย์และประเทศให้มีความอยู่รอดแต่อุดมการณ์หรือการปกครองจะต้องมาจากผู้ปกครองที่รับโอกาสจากประชาชนโดยผู้ปกครองที่มีคุณธรรมเพราะประเทศชาติจะพัฒนาแค่ไหนขึ้นอยู่กับคุณธรรมของผู้ปกครองและประชาชนในสังคม[แก้]

ปัญหากับอุดมการณ์ทางการเมือง[แก้]

ปัญหามักเกิดขึ้นกับเมืองต่างๆแต่ปัญหาที่เกิดจากตัวตนเพราะผู้ที่จะเข้ามามีอำนาจทางการปกครองหรือการเมืองเข้ามามีส่วนพัฒนาหากผู้ที่เข้ามาเป็นตัวแทนไม่มีความซื่อสัตย์ไม่นำจริยธรรมมาใช้ ไม่มีความรู้ ความสามารถความชำนาญในการพัฒนาหรือหากมีอุดมการณ์ที่ไม่ดีหรือดีก็ตามแต่หามีผู้นำประเทศที่ไม่ดีไม่มีความซื่อสัตย์ไม่มีจริยธรรมในการทำงานก็จะไม่มีการพัฒนาบ้านเมือง สังคม ประชาชนก็จะอยู่ที่เดิมซ้ำๆไม่มีการพัฒนาที่ดีเกิดขึ้นหรืออาจทำให้เกิดปัญหาที่ตามมาอีกด้วย[แก้]

ตัวอย่างอุดมการณ์ทางการเมือง[แก้]

อุดมการณ์ประชาธิปไตย[แก้]

อุดมการณ์ประชาธิปไตยจะเน้นเรื่องความเสมอภาคและเสรีภาพควบคู่กัน เสรีภาพคือความมีอิสระในการกระทำต่างๆได้ตามต้องการแต่มีขอบเขตเป็นขีดจำกัด ตัวอย่างเช่น การพูด การพิมพ์ โดยประชาธิปไตยอนุญาตให้มีเสรีภาพในความแตกต่างกัน เช่น ความคิดเห็น เสรีภาพในการนับถือศาสนา เสรีภาพในสมาคม สังคม การรวมกลุ่มที่ไมเป็นอันตรายต่อประโยชน์สังคม ความเสมอภาค ความเสมอภาคทางสังคมทุกคนย่อมได้รับสิทธิในการเคารพความเป็นคนย่อมมีศักดิ์ศรีสิทธิเท่าเทียมกัน ความเสมอภาคทางเศรษฐกิจ เช่นการที่มีรายได้เท่าเทียมกัน การที่มีรายได้ที่มีคุณธรรมไม่ลำเอียงในการทำงานมีการกระจายที่เหมาะสม บุคคลมีความมั่นคงทางเศรษฐกิจมีรายได้เพียงพอในการดำเนินชีวิต เช่น การกำหนดรายได้ขั้นต่ำ ความเสมอภาคทางโอกาส ทุกคนสามารถได้รับโอกาสตามความสามารถของตน เช่น การศึกษา การประกอบธุระกิจ การแสวงหาความก้าวหน้าของสังคม ความเสมอภาคทางการเมือง ประชาชนสามารถมีสิทธิที่จะเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆทางการเมืองได้เท่าเทียมกัน เช่น การมีสิทธิเลือกตั้งเมื่อมีอายุถึงเกณฑ์ที่กำหนด ดังนั้น ประเทศชาติจะมีความประสบความสำเร็จต้องมีการวางแผนอย่างจริงจังและปฏิบัติได้จริงแผนการที่วางไว้ก็ต้องมาจากอุดมการณ์ต่างๆที่ใช้ในการพัฒนา ยับยั้ง เปลี่ยนแปลงสิ่งต่างๆให้ประเทศและประชาชนมีความสุข[แก้]

[11]

  1. อุดมการณ์. (2558). (ออนไลน์). สืบค้นจาก<reg>[1],</reg>
  2. อุดมการณ์. (2558). (ออนไลน์). สืบค้นจาก<reg>[2],</reg>
  3. อุดมการณ์. (2558). (ออนไลน์). สืบค้นจาก<reg>[3],</reg>
  4. อุดมการณ์ทางการเมือง. (2556). (ออนไลน์). สืบค้นจากhttp://annmew123.blogspot.com/
  5. อุดมการณ์. (2558). (ออนไลน์). สืบค้นจาก<reg>[4],</reg>
  6. อุดมการณ์. (2558). (ออนไลน์). สืบค้นจาก<reg>[5],</reg>
  7. อุดมการณ์. (2558). (ออนไลน์). สืบค้นจาก<reg>[6],</reg>
  8. อุดมการณ์ทางการเมือง. (2556). (ออนไลน์). สืบค้นจากhttp://annmew123.blogspot.com/
  9. องค์ประกอบของอุดมการณ์ทางการเมือง. (2553). (ออนไลน์). สืบค้นจากhttp://www.chanchaivision.com/2013/07/fundamental-politics-ideology-1.html?m=1
  10. เสรีนิยม. (2556). (ออนไลน์). สืบค้นจากhttp://khozafi-shahaan.blogspot.com/2010/10/blog-post_6418.html.%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B8%A1
  11. อุดมการณ์ประชาธิปไตย. (2553). (ออนไลน์). สืบค้นจาก https://spadmc.wordpress.com/2010/10/19/%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%94%E0%B8%A1%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B9%8C%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%9B%E0%B9%84%E0%B8%95%E0%B8%A2/