ผู้ใช้:Phromkham/กระบะทราย/วิธีการสอน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

วิธีการสอน หมายถึง ประกอบด้วยหลักการและวิธีการที่ใช้ในการเรียนการสอนที่จะต้องดำเนินการโดยครูผู้สอนเพื่อให้บรรลุการเรียนรู้ที่ต้องการหรือความจำของนักเรียน กลยุทธ์เหล่านี้จะถูกกำหนดบางส่วนเกี่ยวกับเรื่องที่จะสอนและอีกส่วนหนึ่งโดยธรรมชาติของผู้เรียน สำหรับวิธีการเรียนการสอนโดยเฉพาะอย่างยิ่งให้มีความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพก็จะต้องมีความสัมพันธ์กับลักษณะของผู้เรียนและประเภทของการเรียนรู้มันควรจะนำมาเกี่ยวกับ รองศาสตราจารย์ ดร.ทิศนา แขมมณี[1] ได้อุปไมยความหมายของวิธีการสอนไว้ว่า "วิธีการสอน" คือ ขั้นตอนที่ผู้สอนดำเนินการให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ด้วยวิธีการต่าง ๆ ที่แตกต่างกันไปตามองค์ประกอบ และขั้นตอนสำคัญอันเป็นลักษณะเฉพาะ หรือลักษณะเด่นที่ขาดไม่ได้ของวิธีนั้น ๆ

วิธีการสอนนั้นมีหลากหลายวิธีแล้วแต่ผู้สอนจะเลือกมาใช้ แต่ผู้สอนส่วนใหญ่มักจะมุ่งเน้นที่เทคนิคของวิธีการสอนมากกว่าแก่นสำคัญของวิธีการสอนนั้น เนื่องจากเทคนิคต่าง ๆ จะเห็นได้เด่นชัดมากกว่าแก่งซึ่งซ้อนอยู่ภายใน ด้วยเหตุนี้เองผู้สอนที่ไม่ทราบหรือเข้าใจถึงแก่นคือองค์ประกอบ และขั้นตอนที่ขาดไม่ได้ของวิธีนั้น อาจจะทำให้เกิดการสอนที่ขาดประสิทธิภาพไปนั้นเอง

วิธีการสอน[แก้]

เราไม่สามารถกล่าวได้ว่า วิธีใดเป็นวิธีสอนที่ดีที่สุด เพราะการเรียนการสอนต้องขึ้นกับองค์ประกอบหลายประการ ดังนั้น จึงเป็นหน้าที่ของครูที่จะต้องตัดสินใจเลือกวิธีสอนตามความเหมาะสมของสภาพที่เป็นอยู่ ควรนำเทคนิคต่าง ๆ มากระตุ้นและเร้าความสนใจของผู้เรียน โดยพิจารณาให้เหมาะสมกับเนื้อหาและเวลาที่กำหนดให้ โดยมีวิธีการสอนดังต่อไปนี้

  1. วิธีการสอนโดยใช้การบรรยาย (Lecture)
  2. วิธีการสอนโดยใช้การสาธิต (Demonstration)
  3. วิธีการสอนโดยใช้การทดลอง (Experiment)
  4. วิธีการสอนโดยใช้การนิรนัย (Deduction)
  5. วิธีการสอนโดยใช้การอุปนัย (Induction)
  6. วิธีการสอนโดยใช้การไปทัศนศึกษา (Field Trip)
  7. วิธีการสอนโดยใช้การอภิปรายกลุ่มย่อย (Small Group Discussion)
  8. วิธีการสอนโดยใช้การแสดงละคร (Dramatization)
  9. วิธีการสอนโดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ (Role Playing)
  10. วิธีการสอนโดยใช้กรณีตัวอย่าง (Case)
  11. วิธีการสอนโดยใช้เกม (Game)
  12. วิธีการสอนโดยใช้สถานการณ์จำลอง (Simulation)
  13. วิธีการสอนโดยใช้การศูนย์การเรียน (Learning Center)
  14. วิธีการสอนโดยใช้บทเรียนโปรแกรม (Programmed Instruction)

ทั้งนี้ยังมีวิธีการสอนอื่นๆ อีกมากมายที่ไม่ได้กล่าวถึง ซึ้งการเลือกใช้ก็ขึ้นอยู่กับตัวผู้สอนเอง และเนื้อหาวิชาที่สอนด้วย

หลักเกณฑในการเลือกวิธีสอน [2][แก้]

ลักษณะของเนื้อหาวิชาที่จะสอน

ถาผูสอนตองการใหผูเรียนเกิดการเรียนรูทั้ง 3 ดาน คือความรู ทักษะ และเจตคติ ดังนั้นลักษณะเนื้อหาวิชา จึงเปนสิ่งสําคัญในการเลือกวิธีสอน การสอนความรูเปนการสงเสริมใหผูเรียนดําเนินกิจกรรมทางสมอง เพื่อที่จะรับเนื้อหาทฤษฎีหลักการและขอเท็จจริงตาง ๆ สําหรับการสอนทักษะนั้นเปนการสงเสริมใหผูเรียนเกิดความชํานาญในการใชกลามเนื้อและความคิดไดอยางแคลวคลองวองไว สวนการสอนเจตคติเปนการสงเสริมใหผูเรียนไดรับคานิยม และลักษณะนิสัยที่ดี

สิ่งเหลานี้ยอมตองการวิธีการสอนที่แตกตางกัน วิธีสอนอยางหนึ่งอาจจะเหมาะสมตอการสอนเนื้อหาวิชาในลักษณะหนึ่งแตบทเรียนโดยทั่วไป มักจะมีลักษณะปนทั้งทฤษฎีและปฏิบัติในการเลือกวิธีสอนผูสอนที่ดีควรจะเลือกวิธีสอนที่เหมาะสมที่สุดสําหรับการสอนในแตละสวนของบทเรียน

ผูสอน

หลักในการเลือกวิธีสอนในขอนี้ยึดหลักความแตกตางระหวางบุคคลเปนสําคัญ โดยเฉพาะอยางยิ่งผูสอนบางคนอาจมีเทคนิคในการพูดหรือความสามารถในการถายทอด โดยใชคําพูดเพื่ออธิบายสิ่งตาง ๆ ไดเปนอยางดีแตในทางตรงกันขามผูสอนบางคนอาจพูดไมเกง ถายทอดไมเปนอาจจะนําวิธีการสอนอยางอื่นมาใชแทนการพูดอธิบาย เชนใชวิธีการแสดงใหเห็นจริงดวยวิธีการสาธิต หรือดวยการใชสื่อการสอนตาง ๆ เขามาชวย ทั้งนี้เพื่อที่จะใหผูเรียนเกิดการเรียนรูนั่นเอง

ทรัพยากรที่มีอยู่

สิ่งที่ตองคํานึงถึงอีกอยางหนึ่ง ในการเลือกวิธีสอนคือทรัพยากรตาง ๆซึ่งอาจจะเปนเรื่องของเวลาที่จํากัด วัสดุ อุปกรณตาง ๆ ที่มีอยู เชนถาหากวัตถุประสงคของบทเรียน ตองการที่จะพัฒนาทักษะของผูเรียน วิธีสอนที่ดีที่สุดสําหรับกรณีนี้ก็คือ การใหผูเรียนไดลงมือปฏิบัติแตถาหากวาวัสดุที่มีอยูไมเพียงพอจึงมีการพิจารณาเลือกวิธีสอนแบบใหมมาใชเพื่อแกไขปญหาการขาดทรัพยากรรี้

หลักการของการเรียนรู้

ผูเรียนจะเกิดการเรียนรูไดดวยการรับสิ่งเรา โดยผานทางประสาทรับรูในสวนตาง ๆ ยิ่งถาไดใชประสาทรับรูมากสวนเพียงใด ก็จะยิ่งชวยใหเกิดการเรียนรูไดงายและเร็วขึ้น ดังนั้นในการตัดสินเลือกวิธีสอน ผูสอนจะตองคํานึงถึงสิ่งเหลานี้และสิ่งอื่น ๆ อีกเชน ความแตกตางระหวางบุคคลบรรยากาศของสิ่งแวดลอม ความพรอมของผูเรียน เปนตน

บทสรุป[แก้]

ในการสอนโดยทั่วไปแล้วผู้สอนควรเลือกใช้วิธีการสอนที่หลายหลาก เนื่องจากวิธีการสอนวิธีใดวิะีหนึ่งมีลักษณะที่เฉพาะอย่าง ไม่สามารถตอบสนองตามวัตถุประสงค์ของการสอนได้อย่างครบถ้วน ดังนั้นผู้สอนจึงจะต้องมีความรู้ความเข้าใจในวิธีการสอนที่ทั้งหลาย ซึ่งจะช่วยให้ผู้สอนมีทางเลือกมากขึ้น หากผู้สอนมีการใช้วิธีการสอนที่หลากหลายก็จะช่วยให้ผู้เรียนไม่เกิดความเบื่อหน่ายในการเรียนรู้ที่จำเจ และมีความกระตือรือร้นในการเรียนอยู่เสอม ทั้งนี้ยังจะช่วยให้การสอนบรรลุผลได้ดีขึ้น และมีประสิทธิภาพที่ดีอีกด้วย [2]

อ้างอิง[แก้]

  1. ทิศนา แขมมณี,ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ, (กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2556),323
  2. 2.0 2.1 วิธีการสอน (Teaching Methodology) โรงเรียนเทคโนโลยีสยาม. 23 August 2014.