ผู้ใช้:Hattalk/กระบะทราย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

หม่อมหลวงดลนันท์ แม็คคอสแลนด์ คุณออม (ม.ล.ดลนันท์ แม็คคอสแลนด์) (Baroness Donald McCausland) เกิดวันที่ 9 ธ.ค พ.ศ 2543 เป็นธิดาของ Charles E. McCausland กับ คุณอ้อ (ธันยา แม็คคอสแลนด์) มีพี่น้อง 3 คน คือ Tricia McCausland (Miss Delaware 1997) , CJ McCausland และ Adam McCausland คุณออมมีเชื้อสายตระกูล "McCausland" ราชสกุลจากสก็อตแลนด์สืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน หลาย ๆ คนเลยยกหางฐานันดรศักดิ์ของเธอว่าน่าจะยศ "ม.ล." เทียบไทย จากคุณเทียดของเธอ (ยศบารอน)

การศึกษา

คุณออมจบการศึกษาประถมต้น-เซนต์ฟรังซีสซาเวียร์ ประถมปลาย-ฉัตรวิทยา. และปัจจุบัน ศึกษาชั้นมัธยมต้นที่ การศึกษาทางไกล (กศน.ทางไกล)

ประวัติ

ชื่อ : ดลนันท์ แม็คคอสแลนด์ ชื่อเล่น : "คุณ" ออม อายุ : 14 ปี เกิด : 9/12/2000 ส่วนสูง : 170 ซม. น้ำหนัก : 51 กก.

เชื้อพระวงศ์

คุณออมมีเชื้อสายโดยตรงจากราชสกุล McCausland ซึ่งสกุลนี้ปัจจุบันมีอยู่หลายที่ทั้ง ยุโรปและอเมริกาเหนือ ส่วนมากคนที่อพยพไปอเมริกาเหนือจะเป็น "บารอน" หมด ในปัจจุบันในยุโรปและอเมริกายังมีคนสกุลนี้ในศักดิ์ ท่านเคานท์ และ บารอน

______________________________________________________________________________________________________________________________

สมัยกรุงรัตนโกสินทร์

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จทอดพระเนตรสุริยุปราคาเต็มดวงที่บ้านหว้ากอ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2411 มีบันทึกการสังเกตสุริยุปราคาเต็มดวง 18 สิงหาคม พ.ศ. 2411 ต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน โดยนับตั้งแต่สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์เป็นต้นมา มีสุริยุปราคาแบบเต็มดวงและแบบวงแหวนอีกหลายครั้ง ดังจะแสดงสุริยุปราคาที่มีเส้นทางผ่านเข้ามาในประเทศไทย โดยถือตามขอบเขตประเทศตามแผนที่ปัจจุบันได้ดังนี้

รัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

5 สิงหาคม พ.ศ. 2328 สุริยุปราคาวงแหวน พาดผ่านภาคเหนือตอนบน เมืองเชียงใหม่ สำหรับกรุงเทพฯเห็นเป็นชนิดบางส่วน 74%

30 มกราคม พ.ศ. 2329 สุริยุปราคาแบบผสม โดยส่วนที่พาดผ่านเข้ามาในสยามเป็นแบบวงแหวน แนวคราสผ่านเมืองลำพูน กรุงเทพฯเห็นเป็นชนิดบางส่วน 86%

4 มิถุนายน พ.ศ. 2331 สุริยุปราคาเต็มดวงครั้งแรกแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ที่พาดผ่านเข้ามาในประเทศไทย แนวคราสมืดเฉียดอำเภอแม่สาย และออกสู่หลวงพระบาง ในกรุงเทพฯเห็นเป็นชนิดบางส่วน 79%

รัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

16 พฤษภาคม พ.ศ. 2360 สุริยุปราคาวงแหวน แนวคราสกว้าง 213 ก.ม. พาดผ่านภาคกลางตอนบน และภาคอีสานตอนล่าง กรุงเทพฯเห็นเป็นชนิดบางส่วน 88%

รัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

21 ธันวาคม พ.ศ. 2386 สุริยุปราคาเต็มดวงครั้งที่ 2 แนวคราสผ่านเมืองตรัง เมืองพัทลุง กรุงเทพฯเห็นเป็นชนิดบางส่วน 82%

9 ตุลาคม พ.ศ. 2390 สุริยุปราคาวงแหวนผ่านภาคเหนือและภาคอีสานตอนบน กรุงเทพฯเห็นเป็นชนิดบางส่วน 79%

รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

18 กันยายน พ.ศ. 2400 สุริยุปราคาวงแหวน แนวคราสผ่านเมืองประจวบคีรีขันธ์ กรุงเทพเห็นเป็นชนิดบางส่วน 90%

8 กรกฎาคม พ.ศ. 2404 สุริยุปราคาวงแหวนผ่านสุไหงโกลก กรุงเทพฯเห็นเป็นชนิดบางส่วน 68%

18 สิงหาคม พ.ศ. 2411 สุริยุปราคาเต็มดวงครั้งที่ 3 ดูบทความหลักที่ สุริยุปราคาเต็มดวง 18 สิงหาคม พ.ศ. 2411 ขาว เหมือนวงศ์ นักวิชาการจากมหาวิทยาลัยขอนแก่น พบว่าสุริยุปราคาครั้งนี้เป็นวงรอบซารอสเดียวกันกับสุริยุปราคาที่สมเด็จพระนารายณ์มหาราชทอดพระเนตรวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2231 โดยห่างกัน 10 วงรอบซารอส หรือ 180 ปี

รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (สมเด็จพระปิยะมหาราช)