ปีเยิร์ก
ปีเยิร์ก | |
---|---|
ข้อมูลพื้นฐาน | |
ชื่อเกิด | ปีเยิร์ก กืดมึนด์สตอตตีร์ |
เกิด | 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2508 |
ที่เกิด | เรคยาวิก ไอซ์แลนด์ |
แนวเพลง | อินเทลลิเจนท์แด๊นซ์มิวสิก อัลเทอร์เนทีฟร็อก[1][2] อีเลกโทรนิกา ทริปฮ็อป อาว็อง-การ์ด[3] ดนตรีทดลอง[4][5] ออลเทอร์นาทิฟแดนซ์[6][7] ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์[7] ทริปฮอป[8] แจ๊ส[9] โพสต์พังก์ |
อาชีพ | นักร้อง นักแต่งเพลง นักแสดง โปรดิวเซอร์ดนตรี นักสังคม |
เครื่องดนตรี | ร้องนำ , เปียโน , คียบอร์ด , ขลุ่ย , ฮาบ , แคริเน็ต , ฮาโมนิค |
ช่วงปี | ค.ศ. 1977 — ปัจจุบัน |
ค่ายเพลง | One Little Indian Records , Elektra Records , Atlantic Records , Polydor Records , Warner Bros Records, Nonesuch Records , Megaforce Records , Universal Records , RED Distribution |
ปีเยิร์ก กืดมึนด์สตอตตีร์ เกิดเมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน ค.ศ. 1965 รู้จักกันในนาม ปีเยิร์ก (ไอซ์แลนด์: Björk) เป็นนักร้องชาวไอซ์แลนด์ , นักแต่งเพลง , นักดนตรี , โปรดิวเซอร์ และบางครั้งก็เป็นนักแสดง เธอเป็นที่รู้จักจากการเป็นนักร้องนำวงแนว ออลเทอร์นาทิฟ เดอะชูการ์คิวส์ , หลังปล่อยซิงเกิล Birthday ในปี 1987 ซึ่งติดชาร์จเพลงอินดี้ในสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร[10] และเป็นที่ชื่นชอบในหมู่นักวิจารณ์เพลง[11] ปีเยิร์กเริ่มผลงานเดี่ยวในปี 1993 , อัลบั้มเดี่ยว Debut เป็นผลงานแนวเพลง ดนตรีอิเล็คทรอนิกส์ , เฮาส์ (แนวดนตรี) , แจ๊ส , ทริปฮอป และเป็นหนึ่งในอัลบั้มแรกที่ที่ทำให้แนวเพลงอิเล็คทรอนิกส์อยู่ในกระแสหลัก[12][13] ในการครบรอบสามสิบปีที่ในวงการดนตรีของเธอ , ปีเยิร์กได้พัฒนารูปแบบดนตรีโดยเอาลักษณะของการเต้น , ร็อค , ทริปฮอป , แจ๊ส , ดนตรีคลาสสิก , ดนตรีทดลอง และ อาว็อง-การ์ด[14]
ปีเยิร์กมี 30 ซิงเกิลที่ได้ท็อป 40 ในป็อปชาร์จทั่วโลก ซิงเกิลเพลงของปีเยริ์คติดลำดับ 22 ท็อปใน 40 ฮิตในสหราชอาณาจักร อย่างชาร์จซิงเกิลในสหราชอาณาจักรโดยติดเป็นเวลา 10 สัปดาห์ "It's Oh So Quiet", "Army of Me", และ "Hyperballad"[15] ยิ่งไปกว่านั้น, "Big Time Sensuality", "Hyperballad" และ "I Miss You" ยังติดอันดับในชาร์จเพลงแดนซ์ในอเมริกา ค่ายเพลงปีเยิร์ก One Little Indian รายงานว่าเธอขายไปได้มากกว่า 15 ล้านแผ่นในปี 2003[16] ปัจจุบันยอดขายของปีเยิร์กอยู่ในระหว่าง 20 ถึง 40 ล้านแผ่น[17][18]
ปีเยิร์กได้รางวัล บริตอะวอดส์ สี่ครั้ง , เอ็มทีวี วิดิโอ มิวสิคอะวอดส์สี่ครั้ง , โมโจ อวอร์ดส์หนึ่งครั้ง , ยูเคมิวสิควิดิโออวอร์ดส สามครั้ง , ไอซแลนด์ มิวสิค อวอร์ดส 21 ครั้ง และในปี 2010 , เดอะ โพลาร์ มิวสิค ไพรซ์ จาก รอยัลสวีเดนอาคเดมีออฟซอง บอกลักษณะแนวเพลงของปีเยิร์กว่า เป็นแนวเพลงที่แหวกแนว และการจัดการที่ละเอียด พร้อมโดยเสียงอันเป็นเอกลักษณ์ของเธอ[19][20] เธอยังได้รับเสนอชื่อแกรมมี่อะวอร์ดสถึง 13 ครั้ง นอกจากนี้ยังเสนอชื่อรางวัลออสการ์ 1 ครั้ง และเสนอชื่อสองครั้งใน รางวัลลูกโลกทองคำ เธอเข้าชิงรางวัลนักแสดงหญิงยอดเยี่ยมในเทศกาลภาพยนตร์ 2000 Cannes Flim Festival จากการแสดงของเธอใน จังหวะชีวิต ลิขิตด้วยเพลง (อังกฤษ: Dancer in the Dark)[21] อัลบั้มของเธอในปี 2011 Biophilia เป็นอัลบั้มชุดแรกที่มีการปล่อยลงในแอปพลิเคชันแบบสัมผัสได้และในปี 2014 แอพดังกล่าวยังเป็นแอพแรกๆที่ถูกนำเข้าใน พิพิธภัณฑ์ศิลปะสมัยใหม่ [22]
ผลงาน
[แก้]ผลงานอัลบั้ม
[แก้]- Björk (1977)
- Debut (1993)
- Post (1995)
- Homogenic (1997)
- Vespertine (2001)
- Medúlla (2004)
- Volta (2007)
- Biophilia (2011)
- Vulnicura (2015)
- Utopia (2017)
- Fossora (2022)
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Simpson, Dave (8 January 2015). "Björk, KUKL and Purrkur Pillnikk – the anarcho-punk roots of Iceland's music scene". The Guardian. สืบค้นเมื่อ 16 April 2015.
- ↑ Stephen Cook. "The Sugarcubes - Stick Around for Joy". AllMusic. สืบค้นเมื่อ 25 April 2015.
- ↑ Alex Ross (26 March 2014). "How Björk broke the sound barrier". The Guardian. สืบค้นเมื่อ 16 April 2015.
- ↑ Cragg, Michael (26 March 2014). "10 of the best: Björk". The Guardian. สืบค้นเมื่อ 16 April 2015.
- ↑ Roberts, Randall (22 January 2015). "Review: On 'Vulnicura,' Bjork is heavy and at her most personal". Los Angeles Times. สืบค้นเมื่อ 16 April 2015.
- ↑ Pytlik, Mark (2003). Bjork: Wow and Flutter. ECW Press. p. 197. ISBN 1550225561.
- ↑ 7.0 7.1 Allen, Liam (28 July 2011). "Bjork on Biophilia and her debt to UK dance music". BBC. สืบค้นเมื่อ 16 April 2015.
- ↑ Dylan S. "Bjork - Post". SputnikMusic. สืบค้นเมื่อ 25 April 2015.
- ↑ Joslyn Layne. "Björk / Gudmundar Ingólfsson Trio". AllMusic. สืบค้นเมื่อ 25 April 2015.
- ↑ The Sugarcubes#Singles
- ↑ "Pazz & Jop 1988: Critics Poll". Robert Christgau. 28 February 1989. สืบค้นเมื่อ 5 March 2015.
- ↑ "Debut Turns 20". Stereogum. สืบค้นเมื่อ 23 September 2014.
- ↑ "Bjork's 'Debut' Turns 20: Backtracking « Music News, Reviews, and Gossip on Idolator.com". สืบค้นเมื่อ 23 September 2014.[ลิงก์เสีย]
- ↑ Down time: Bjork The Sunday Times[, Robert Sandall, 23 March 2008
- ↑ Roberts, David. Guinness Book of British Hit Singles & Albums. Guinness World Records Ltd 17th edition (2004), p. 60 ISBN 0-85112-199-3
- ↑ Inside Björk DVD documentary (2003). Documentary spanning Björk's musical career.
- ↑ Damaschke, Sabine. "Björk's music as art". DW.de. Deutsche Welle. สืบค้นเมื่อ 25 April 2015.
- ↑ Assante, Ernesto (21 February 2015). "Canto dopo l'amore". La Repubblica. Gruppo Editoriale L'Espresso Spa. สืบค้นเมื่อ 25 April 2015.
- ↑ List of awards and nominations received by Björk#Icelandic Music Awards
- ↑ "Björk". Swedish Royal Academy of Music. สืบค้นเมื่อ 4 January 2011.
- ↑ "Festival de Cannes: Dancer in the Dark". festival-cannes.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-09-20. สืบค้นเมื่อ 11 October 2009.
- ↑ Ben Beaumont-Thomas. "Bjork's Biophilia becomes first app in New York's Museum of Modern Art". the Guardian. สืบค้นเมื่อ 23 September 2014.