ประเพณีแต่งงานผี
ประเพณีแต่งงานผี | |||||||||||||||||||||||||
ภาษาจีน | 冥婚 | ||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ความหมายตามตัวอักษร | "วิวาห์วิญญาณ" | ||||||||||||||||||||||||
|
ในประเพณีและวัฒนธรรมจีน หมิงฮุน (จีน: 冥婚; พินอิน: mínghūn; แปลตรงตัว: "วิวาห์วิญญาณ") เป็นประเพณีการสมรสให้แก่วิญญาณผู้ตายโดยฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอาจจะเสียชีวิตไปแล้วหรือยังอยู่ก็ได้[1]: 99 ต้นกำเนิดและที่มาของประเพณีทางโบราณคดีและประวัติศาสตร์นี้ยังไม่ปรากฏแน่ชัดว่าเริ่มปฏิบัติมาตั้งแต่สมัยใดและยังมีการปฏิบัติอยู่ในปัจจุบัน[2] ในประเพณีและวัฒนธรรมของชนบทในไต้หวัน หากมีหญิงโสดเสียชีวิต ครอบครัวของผู้วายชนม์จะทิ้งซองแดงอันภายในใส่เงินสดและเล็บ เส้นผมของผู้ตายเอาไว้ และรอจนกว่าจะมีผู้ชายเดินมาเก็บซองนั้น ชายคนแรกที่หยิบได้ซองนั้นขึ้นมาจะเป็นเจ้าบ่าวของผู้วายชนม์และจะเป็นสิริมงคลแก่ทุกฝ่าย หากบุรุษผู้นั้นปฏิเสธไม่ยอมวิวาห์ด้วยแล้วจะเกิดเหตุการณ์โชคร้ายแก่บุรุษผู้นั้น[3]
ในวัฒนธรรมร่วมสมัย
[แก้]นวนิยายของนักเขียนชาวมาเลเซียเชื้อสายจีนในสหรัฐอเมริกานามว่า หยางชื่อ ชู ใน พ.ศ. 2556 ใช้ที่มาของเรื่องราวจากประเพณีนี้เป็นส่วนสำคัญ[4]และกลายเป็นหนังสือขายดีของอันดับหนังสือขายดีเดอะนิวยอร์กไทมส์และได้รับเลือกให้เป็นหนังสือยอดเยี่ยมโดย Oprah.com[5][6] ต่อมาได้กลายเป็นพื้นฐานของซีรีส์ต้นฉบับของ Netflix เรื่อง เจ้าสาวเซ่นศพ (The Ghost Bride) ซึ่งร่วมกำกับโดยผู้กำกับชาวมาเลเซีย Quek Shio-chuan และ Ho Yu-hang นำแสดงโดย Huang Pei-jia, Wu Kang-jen, หลิน ลู่ตี๋ และ Kuang Tian[7][8][9]
ภาพยนตร์แต่งงานกับผี ให้ความสำคัญกับการเริ่มต้นของเรื่องราวจากประเพณีนี้[10][11] ได้รับเลือกให้เป็นภาพยนตร์ปิดเทศกาลภาพยนตร์นานาชาติรางวัลม้าทองคำปีพุทธศักราช2565[12]
หมายเหตุ
[แก้]- ↑ Stockard, Janice E. Daughters of the Canton Delta
- ↑ "一個人的婚禮…女友過世男辦冥婚". 東森新聞. 東森新聞网. 6 November 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-03-16. สืบค้นเมื่อ 14 February 2016.
- ↑ https://www.arsomsiam.com/%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%AE%E0%B8%B8%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%A2/
- ↑ Vinczeová, Barbora. "The Concept of Afterlife: Transforming Mythology into Fantasy in Yangsze Choo's The Ghost Bride." Ostrava Journal of English Philology 11.1 (2019).
- ↑ Miller, Stuart (2020-02-07). ""Wild Dreams"". Harvard Magazine (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2022-04-19.
- ↑ Asia, Tatler. "Yangsze Choo". Tatler Asia (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2022-04-19.
- ↑ Cheema, Sukhbir (22 January 2020). "'The Ghost Bride' directors tell us what it's like working with an all-Malaysian crew and why the Netflix series was shot in Mandarin". Mashable SEA (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 21 August 2020.
- ↑ "Creepy ghost wedding custom featured in 'The Ghost Bride' on Netflix | The Star". www.thestar.com.my. สืบค้นเมื่อ 21 August 2020.
- ↑ Chin, Koyyi (10 August 2020). "Director Quek Shio Chuan Tells Deeply Personal Stories Through His Films". Tatler Malaysia (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 21 August 2020.
- ↑ "雙帥合體!《緝魂》導演推新作「許光漢、林柏宏」演技、顏值都犯規,同志冥婚題材網暴動~|東森新聞". 東森新聞 (ภาษาจีนตัวเต็ม). สืบค้นเมื่อ 2022-12-20.
- ↑ ETtoday新聞雲. "許光漢搭林柏宏談人鬼戀! 男男CP原本找劉冠廷…無緣合體原因曝 | ETtoday星光雲 | ETtoday新聞雲". star.ettoday.net (ภาษาจีนตัวเต็ม). สืบค้นเมื่อ 2022-12-20.
- ↑ "《一家子兒咕咕叫》、《關於我和鬼變成家人的那件事》榮膺2022金馬影展開、閉幕片". www.goldenhorse.org.tw (ภาษาจีนกลางสำเนียงไต้หวัน). สืบค้นเมื่อ 2023-08-11.
อ้างอิง
[แก้]- Baker, Hugh D. R. Chinese Family and Kinship. New York: Columbia University Press, 1979.
- As quoted by Baker: Ball, J. Dyer, Things Chinese: or Notes Connected with China, London, 1904.
- Freedman, Maurice.Family and Kinship in Chinese Society. Stanford, CA: Stanford university Press, 1970.
- Ikels, Charlotte. "Parental Perspectives on the Significance of Marriage." Journal of Marriage and the Family Vol. 47 No. 2 (May 1985):253-264.
- Jordan, David K. Gods, Ghosts, and Ancestors: The Folk Religion of a Taiwanese Village. Berkeley, Los Angeles, London: University of California Press, 1972.
- The Cult of the Dead in a Chinese Village. Stanford, CA: Stanford University Press, 1973.
- Stockard, Janice E. Daughters of the Canton Delta: Marriage Patterns and Economic Strategies in South China, 1860-1930.Stanford, CA: Stanford University Press, 1989.
- Topley, Marjorie. "Ghost Marriages Among the Singapore Chinese." Man (Published by the Royal Anthropological Institute of Great Britain and Ireland) Vol. 55 (Feb., 1955): 29-30.
- Topley, Marjorie. "Ghost Marriages Among the Singapore Chinese: A Further Note." Man (Published by the Royal Anthropological Institute of Great Britain and Ireland) Vol. 56 (May, 1956).
- Wolf, Arthur P. Studies in Chinese Society. Stanford, CA: Stanford University Press, 1978.
- Wolf, Arthur P., and Chieh-shan Huang. Marriage and Adoption in China, 1845-1945. Stanford, CA: Stanford University Press, 1980.
ดูเพิ่ม
[แก้]- "Wet goods and dry goods". The Economist. 26 July 2007. สืบค้นเมื่อ 18 April 2018.
- Yardley, Jim (5 October 2006). "Dead Bachelors in Remote China Still Find Wives". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 18 April 2018.
- Kramer, Michael (2 October 1989). "A Day in The Life......Of China: Free to Fly Inside the Cage". Time. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-02-25. สืบค้นเมื่อ 18 April 2018.