ธารดาวฤกษ์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ธารดาวฤกษ์บริเวณทางช้างเผือกที่ค้นพบในปี พ.ศ. 2550

ธารดาวฤกษ์ เป็นกลุ่มการรวมตัวของดาวฤกษ์แบบหนึ่งที่โคจรอยู่ในดาราจักร ครั้งหนึ่งดาวเหล่านี้เคยเป็นกระจุกดาวทรงกลมหรือดาราจักรแคระ ต่อมาถูกปัจจัยบางอย่างแยกออกจากกัน แต่ดาวฤกษ์ยังคงมีการเคลื่อนตัวไปในอวกาศด้วยกันเป็นลักษณะยาวคล้ายสายธารเนื่องจากยังมีผลจากแรงน้ำขึ้นน้ำลงอยู่

รายการธารดาวฤกษ์[แก้]

ธารดาวฤกษ์ที่รู้จักในทางช้างเผือก[1]
ชื่อ จุดกำเนิด มวล
(มวลดวงอาทิตย์)
ความยาว
(ปีแสง)
องค์ประกอบ ปีที่พบ (ค.ศ.)
ธารอาร์คตุรุส Defunct dwarf galaxy ไม่ทราบ ไม่ทราบ ดาวเก่าแก่ที่มีอนุภาคหนัก 1971
ธารแมเจลแลน เมฆแมเจลแลนใหญ่ and เล็ก 200 ล้าน 1 ล้าน แก๊สไฮโดรเจน 1972
Sagittarius stream ดาราจักรแคระชนิดรีคนยิงธนู 100 ล้าน 1 ล้าน ดาวฤกษ์หลากหลายประเภท 1994
Helmi stream Defunct dwarf galaxy 10 ถึง 100 ล้าน เป็นวงรอบทางช้างเผือกหลายรอบ ดาวเก่าแก่ที่มีอนุภาคหนัก 1999
Palomar 5 stream กระจุกดาวทรงกลม Palomar 5 5000 30,000 ดาวเก่าแก่ 2001
Virgo stream defunct dwarf galaxy 30,000 2001
Monoceros ring ดาราจักรแคระสุนัขใหญ่ 100 ล้าน 200,000 ดาวฤกษ์อายุปานกลาง 2002
Anticenter stream Defunct dwarf galaxy ไม่ทราบ 30,000 ดาวเก่าแก่ 2006
NGC 5466 stream กระจุกดาวทรงกลม NGC 5466 10,000 60,000 ดาวเก่าแก่มาก 2006
Orphan stream Ursa Major II Dwarf galaxy 100,000 20,000 ดาวเก่าแก่ 2006
กระจุกดาวทรงกลม 2007[2]
กระจุกดาวทรงกลม 2007[2]
Defunct dwarf galaxy 2007[2]
ธารดาวฤกษ์ที่รู้จักในดาราจักรแอนดรอเมดา
ชื่อ จุดกำเนิด มวล
(มวลดวงอาทิตย์)
ความยาว
(ปีแสง)
องค์ประกอบ ปีที่พบ (ค.ศ.)
Giant stellar stream of M31

อ้างอิง[แก้]

  1. Ibata, Rodrigo; Gibson, Brad (April 2007). "The Ghosts of Galaxies Past". Scientific American: 40–45.
  2. 2.0 2.1 2.2 "Rings around the galaxy". Astronomy. 1 June 2007. สืบค้นเมื่อ 12 July 2019.