ทักษิเณศวรกาลีมนเทียร
หน้าตา
ทักษิเณศวรกาลีมนเทียร | |
---|---|
দক্ষিণেশ্বর কালীবাড়ি | |
ทักษิเณศวรกาลีมนเทียร | |
ศาสนา | |
ศาสนา | ศาสนาฮินดู |
เขต | อำเภอนอร์ธ 24 ปรกานัส |
เทพ | ภวตาริณีกาลี |
เทศกาล | กาลีบูชา, สนนยาตรา, กาลปตรุ |
ที่ตั้ง | |
ที่ตั้ง | โกลกาตาเมโตรโปลิตัน |
รัฐ | รัฐเบงกอลตะวันตก |
ประเทศ | ประเทศอินเดีย |
พิกัดภูมิศาสตร์ | 22°39′18″N 88°21′28″E / 22.65500°N 88.35778°E |
สถาปัตยกรรม | |
ประเภท | สถาปัตยกรรมเบงกอล |
รูปแบบ | นวรัตนะ |
ผู้สร้าง | ราณี รัศโมนี |
เสร็จสมบูรณ์ | 1855 |
วัด | ศิวมนเทียร 12 แห่ง, รธกฤษณมนเทียร 1 แห่ง และกาลีมนเทียรหลัก 1 แห่ง |
เว็บไซต์ | |
เว็บทางการ |
ทักษิเณศวรกาลีมนเทียรเป็นโบสถ์พราหมณ์สถาปัตยกรรมนวรัตนาในเมืองทักษิเณศวร ฝั่งแม่น้ำตะวันออกของแม่น้ำหูฆลี เทพองค์ประธานคือพระภวตาริณี (Bhavatarini) ปางหนึ่งของพระแม่กาลี ซึ่งมีความหมายว่า 'พระผู้ทรงนำให้ผู้บูชาของพระนางได้หลุดพ้นจากมหาสมุทรแห่งการดำรงอยู่ (สังสารวัฏ)[1] มนเทียรนั้นก่อสร้างขึ้นในปี 1855 โดยเศรษฐิณีผู้ใจบุญ ราณี รัศโมนี (Rani Rashmoni) ผู้ศรัทธายิ่งในพระแม่กาลี มนเทียรนี้มีชื่อเสียงจากความเกี่ยวพันกับรามกฤษณะ ฤๅษีเบงกอลจากศตวรรษที่ 19[2][3]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Mehrotra 2008 p.11.
- ↑ "History of the temple". Dakshineswar Kali Temple. สืบค้นเมื่อ 21 April 2018.
- ↑ "Dakshineswar - A Heritage". Government of West Bengal. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 September 2013. สืบค้นเมื่อ 26 November 2012.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ ทักษิเณศวรกาลีมนเทียร
- เว็บไซต์ทางการ
- คู่มือการท่องเที่ยว ทักษิเณศวรกาลีมนเทียร จากวิกิท่องเที่ยว (ในภาษาอังกฤษ)