ทะเลสาบฮูรอน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ทะเลสาบฮูรอน
ชายฝั่งทะเลสาบฮูรอนในคาบสมุทรบรูซ
ที่ตั้งของทะเลสาบฮูรอนในอเมริกาเหนือ
ที่ตั้งของทะเลสาบฮูรอนในอเมริกาเหนือ
ทะเลสาบฮูรอน
แผนที่ความลึกทะเลสาบฮูรอน[1][2][3][4][5][6] จุดที่ลึกที่สุดมีเครื่องหมาย "×"[7]
ที่ตั้งอเมริกาเหนือ
กลุ่มเกรตเลกส์
พิกัด44°48′N 82°24′W / 44.8°N 82.4°W / 44.8; -82.4พิกัดภูมิศาสตร์: 44°48′N 82°24′W / 44.8°N 82.4°W / 44.8; -82.4
ชนิดของทะเลสาบน้ำแข็ง
ชื่อในภาษาแม่
แหล่งน้ำไหลเข้าหลักช่องแคบแมคคิแนค, แม่น้ำเซนต์แมรี
แหล่งน้ำไหลออกแม่น้ำเซนต์แคลร์
พื้นที่รับน้ำ51,700 ตารางไมล์ (134,000 ตารางกิโลเมตร)[8]
ประเทศในลุ่มน้ำแคนาดา และสหรัฐ
ช่วงยาวที่สุด206 ไมล์ (332 กิโลเมตร)[8]
ช่วงกว้างที่สุด183 ไมล์ (295 กิโลเมตร)[8]
พื้นที่พื้นน้ำ23,007 ตารางไมล์ (59,590 ตารางกิโลเมตร)[8]
ความลึกโดยเฉลี่ย195 ฟุต (59 เมตร)[8]
ความลึกสูงสุด750 ฟุต (229 เมตร)[8]
ปริมาณน้ำ850 ลูกบาศก์ไมล์ (3,543 ลูกบาศก์กิโลเมตร)[8]
เวลาพักน้ำ22 ปี
ความยาวชายฝั่ง11,850 ไมล์ (2,980 กิโลเมตร) plus 1,980 ไมล์ (3,190 กิโลเมตร) for islands[9]
ความสูงของพื้นที่577 ฟุต (176 เมตร)[8]
เกาะเกาะแมนิทูลิน
ส่วนย่อยลุ่มน้ำGeorgian Bay, North Channel
เมืองBay City, Alpena, Cheboygan, St. Ignace, Port Huron ในรัฐมิชิแกน; Goderich, Sarnia, Owen Sound ในรัฐออนแทรีโอ
อ้างอิง[10]
1 ความยาวแนวชายฝั่งไม่ได้ถูกวัดอย่างละเอียด
ทะเลสาบฮูรอนมองจากเกาะแมคคินอ

ทะเลสาบฮูรอน หรือ ทะเลสาบฮิวรอน (อังกฤษ: Lake Huron; ฝรั่งเศส: Lac Huron) เป็นทะเลสาบหนึ่งในหมู่ทะเลสาบทั้งห้า (เกรตเลกส์) ในทวีปอเมริกาเหนือ เป็นพรมแดนธรรมชาติระหว่างรัฐมิชิแกนของสหรัฐอเมริกากับรัฐออนแทริโอของแคนาดา มีพื้นน้ำรวมทั้งสิ้น 59,600 ตารางกิโลเมตร ความลึกสุดที่ 230 เมตร ความลึกเฉลี่ย 59 เมตร ชายฝั่งยาว 6,156 กิโลเมตร [11]

อ้างอิง[แก้]

  1. National Geophysical Data Center (1999). "Bathymetry of Lake Erie and Lake Saint Clair". National Oceanographic and Atmospheric Administration. doi:10.7289/V5KS6PHK. สืบค้นเมื่อ March 23, 2015. (only small portion of this map)
  2. National Geophysical Data Center (1999). "Bathymetry of Lake Huron". National Oceanographic and Atmospheric Administration. doi:10.7289/V5G15XS5. สืบค้นเมื่อ March 23, 2015.
  3. National Geophysical Data Center (1996). "Bathymetry of Lake Michigan". National Oceanographic and Atmospheric Administration. doi:10.7289/V5B85627. สืบค้นเมื่อ March 23, 2015. (only small portion of this map)
  4. National Geophysical Data Center (1999). "Bathymetry of Lake Ontario". National Oceanographic and Atmospheric Administration. doi:10.7289/V56H4FBH. สืบค้นเมื่อ March 23, 2015. (only small portion of this map)
  5. National Geophysical Data Center (1999). "Bathymetry of Lake Superior". National Oceanographic and Atmospheric Administration. สืบค้นเมื่อ March 23, 2015.
    (the general reference to NGDC because this lake was never published, compilation of Great Lakes Bathymetry at NGDC has been suspended). (only small portion of this map)
  6. Hastings, D.; Dunbar, P.K. (1999). "Global Land One-kilometer Base Elevation (GLOBE) v.1". National Geophysical Data Center, National Oceanographic and Atmospheric Administration. doi:10.7289/V52R3PMS. สืบค้นเมื่อ March 16, 2015.
  7. "About Our Great Lakes: Tour". National Oceanic and Atmospheric Administration (NOAA) - Great Lakes Environmental Research Laboratory (GLERL). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ May 5, 2011. สืบค้นเมื่อ April 2, 2015. Google Earth Great Lakes Tour (Map). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 5, 2015.
  8. 8.0 8.1 8.2 8.3 8.4 8.5 8.6 8.7 "Great Lakes Factsheet No. 1". U.S. Environmental Protection Agency. June 25, 2012. สืบค้นเมื่อ March 6, 2014.
  9. "Shorelines of the Great Lakes". Michigan Department of Environmental Quality. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ April 5, 2015.
  10. Wright, John W., บ.ก. (2006). The New York Times Almanac (2007 ed.). New York: Penguin Books. p. 64. ISBN 0-14-303820-6 – โดยทาง Archive.org.
  11. Wright, John W. (ed.) ; Editors and reporters of The New York Times (2006). The New York Times Almanac, 2007, New York, New York: Penguin Books, 64. ISBN 0-14-303820-6.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

ประภาคาร