ทะเลสาบทูน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ทะเลสาบทูน
ทะเลสาบทูนตั้งอยู่ในรัฐแบร์น
ทะเลสาบทูน
ทะเลสาบทูน
ทะเลสาบทูนตั้งอยู่ในสวิตเซอร์แลนด์
ทะเลสาบทูน
ทะเลสาบทูน
ทะเลสาบทูนตั้งอยู่ในเทือกเขาแอลป์
ทะเลสาบทูน
ทะเลสาบทูน
ที่ตั้งรัฐแบร์น
พิกัด46°41′N 7°43′E / 46.683°N 7.717°E / 46.683; 7.717พิกัดภูมิศาสตร์: 46°41′N 7°43′E / 46.683°N 7.717°E / 46.683; 7.717
ชนิดฟยอร์ดน้ำจืด กฎระเบียบล่าสุด[1]
แหล่งน้ำไหลเข้าหลักแม่น้ำอาเร
แม่น้ำคันเดอร์
แหล่งน้ำไหลออกแม่น้ำอาเร
พื้นที่รับน้ำ2,500 ตารางกิโลเมตร (970 ตารางไมล์)
ประเทศในลุ่มน้ำสวิตเซอร์แลนด์
ช่วงยาวที่สุด17.5 กิโลเมตร (10.9 ไมล์)
ช่วงกว้างที่สุด3.5 กิโลเมตร (2.2 ไมล์)
พื้นที่พื้นน้ำ48.3 ตารางกิโลเมตร (18.6 ตารางไมล์)
ความลึกโดยเฉลี่ย136 เมตร (446 ฟุต)
ความลึกสูงสุด217 เมตร (712 ฟุต)
ปริมาณน้ำ6.5 ลูกบาศก์กิโลเมตร (5,300,000 เอเคอร์-ฟุต)
เวลาพักน้ำ684 วัน
ความสูงของพื้นที่558 เมตร (1,831 ฟุต)
เมืองThun, Spiez, Faulensee
แผนที่

ทะเลสาบทูน (เยอรมัน: Thunersee) เป็นทะเลสาบบริเวณเทือกเขาแอลป์ ตั้งอยู่ในรัฐแบร์นของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ในอดีตทะเลสาบแห่งนี้เป็นทะเลสาบผืนเดียวกับทะเลสาบบรีเอินซ์ โดยมันเคยมีชื่อว่า ทะเลสาบเว็นเดิล (Wendelsee) แต่ในคริสต์ศตวรรษที่ 10 ทะเลสาบเวนเดิลก็แยกออกเป็นสองทะเลสาบ คือทะเลสาบทูนกับทะเลสาบบรีเอินซ์ โดยมีแม่น้ำอาเรเป็นแม่น้ำที่คอยเชื่อมทะเลสาบทั้งสองแทน โดยที่แม่น้ำอาเรจะไหลจากทะเลสาบบรีเอินซ์มาสู่ทะเลสาบทูน เนื่องจากผิวน้ำของทะเลสาบบรีเอินซ์นั้นอยู่สูงกว่าของทะเลสาบทูนอยู่ราว 6 เมตร

หลังสงครามโลกครั้งที่สอง รัฐบาลสวิตเซอร์แลนด์ได้มีคำสั่งให้นำอาวุธยุทโธปกรณ์ที่ไม่ได้ใช้งานจำนวนมากมาทิ้งลงในทะเลสาบทูน ยุทโธปกรณ์ดังกล่าวที่ถูกทิ้งลงในทะเลสาบนี้อาจมีน้ำหนักรวมถึงตั้งแต่ 3,000 ตันถึง 9,020 ตัน[2][3]

อ้างอิง[แก้]

  1. Kanton Bern, Wasser- und Energiewirtschaftsamt (Water and Energy Department): Möglichkeiten und Grenzen der Seeregulierung am Thuner See (Possibilities and limits of regulating the Thunersee)[ลิงก์เสีย]
  2. "History of navigation on Lakes Thun and Brienz". BLS AG. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-11-15. สืบค้นเมื่อ 2012-12-13.
  3. "BLS Schiffahrt - Our fleet". BLS AG. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-08-10. สืบค้นเมื่อ 2012-12-13.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]