7 อีริส
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก ดาวอีริส)
7 อีริสถ่ายโดยกล้อง VLT ในปี 2017[1] | ||||
การค้นพบ | ||||
---|---|---|---|---|
ค้นพบโดย: | จอห์น รัสเซลล์ ฮินด์ | |||
ค้นพบเมื่อ: | 13 สิงหาคม ค.ศ.1847 | |||
ชื่อตามระบบ MPC: | (7) Iris | |||
ชื่ออื่น ๆ: | ไม่มี | |||
ลักษณะของวงโคจร[2] | ||||
ต้นยุคอ้างอิง 27 เมษายน ค.ศ.2019 (JD 2458600.5) | ||||
ระยะจุดไกล ดวงอาทิตย์ที่สุด: | 2.937 AU (439.4 Gm) | |||
ระยะจุดใกล้ ดวงอาทิตย์ที่สุด: | 1.834 AU (274.4 Gm) | |||
กึ่งแกนเอก: | 2.385 AU (356.8 Gm) | |||
ความเยื้องศูนย์กลาง: | 0.2312 | |||
อัตราเร็วเฉลี่ย ในวงโคจร: | 19.03 กม/วินาที | |||
มุมกวาดเฉลี่ย: | 140.420° | |||
ความเอียง: | 5.524° | |||
ลักษณะทางกายภาพ | ||||
เส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ย: | 214±5 km[1] 199.8±10 km (IRAS)[2] | |||
พื้นที่ผิว: | 538460 km2[3] | |||
ปริมาตร: | 37153500 km3 | |||
มวล: | (1.375±0.13)×1019 kg[1] | |||
ความหนาแน่นเฉลี่ย: | 2.7±0.3 g/cm3[1] | |||
ความเร็วหลุดพ้น: | 0.131 กม./วินาที | |||
คาบการหมุน รอบตัวเอง: | 7.138843 h (0.2974518 d)[1] | |||
ความเร็วการหมุน รอบตัวเอง: | 25.4 เมตร/วินาที | |||
อัตราส่วนสะท้อน: | 0.277 | |||
อุณหภูมิ: | ~171 K max: 275 K (+2°C) | |||
อุณหภูมิพื้นผิว: |
| |||
ขนาดเชิงมุม: | 0.32" ถึง 0.07" | |||
ลักษณะของบรรยากาศ | ||||
ความดันบรรยากาศ ที่พื้นผิว: | 0.08 m/s² |
อีริส (การตั้งชื่อดาวเคราะห์น้อย: 7 อีริส; อังกฤษ: Iris) เป็นดาวเคราะห์น้อยในแถบดาวเคราะห์น้อยที่อยู่ระหว่างดาวอังคารและดาวพฤหัส
ลักษณะ
[แก้]อีริสถูกค้นพบในวันที่ 13 สิงหาคม 1847 โดยจอห์น ไฮนด์ (John Hind) นักดาราศาสตร์ชาวอังกฤษ หลังจากที่ก่อนหน้านี้ได้มีการพบดาวเคราะห์น้อยไปแล้ว 6 ดวง จึงกลายเป็นการค้นพบดาวเคราะห์น้อยดวงที่ 7 ชื่อมีที่มาจากเทพีอีริสในเทพปกรณัมกรีก
องค์ประกอบวงโคจรคล้ายกับดาวเคราะห์น้อยในกลุ่มเวสตา แต่สเปกตรัมต่างกัน โครงสร้างเป็นเหล็กและนิกเกิลที่ผสมทัลก์ มีพื้นผิวที่สะท้อนแสงได้ดี
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 Hanuš, J.; Marsset, M.; Vernazza, P.; Viikinkoski, M.; Drouard, A.; Brož, M.; และคณะ (24 April 2019). "The shape of (7) Iris as evidence of an ancient large impact?". Astronomy & Astrophysics. 624 (A121). arXiv:1902.09242. Bibcode:2018DPS....5040406H. doi:10.1051/0004-6361/201834541.
- ↑ 2.0 2.1 "JPL Small-Body Database Browser: 7 Iris" (2018-03-27 last obs.). Jet Propulsion Laboratory. สืบค้นเมื่อ 17 June 2019.
- ↑ Calculated based on parameters calculated by J. Hanuš et al.[1]