ช่องว่างพลังงาน
![]() | บทความนี้หรือส่วนนี้ของบทความต้องการปรับรูปแบบ ซึ่งอาจหมายถึง ต้องการจัดรูปแบบข้อความ จัดหน้า แบ่งหัวข้อ จัดลิงก์ภายใน และ/หรือการจัดระเบียบอื่น ๆ คุณสามารถช่วยแก้ไขปัญหานี้ได้โดยการกดที่ปุ่ม แก้ไข ด้านบน จากนั้นปรับปรุงหรือจัดรูปแบบอื่น ๆ ในบทความให้เหมาะสม |
ช่องว่างพลังงาน เป็นสมบัติอย่างหนึ่งของตัวนำยวดยิ่ง โดยเป็นช่องว่างพลังงานที่คั่นระหว่างสถานะปกติและสถานะนำยวดยิ่งตามทฤษฎีแถบพลังงาน(Energy band) นอกจากนี้พบว่าทั้งตัวนำยวดยิ่งแบบดั้งเดิมและแบบอุณหภูมิสูงสามารถทำการทดลองเพื่อวัดค่าช่องว่างพลังงานได้ แต่ก็มีความแตกต่างกันในเรื่องของขนาดช่องว่างพลังงานที่วัดได้ โดยตัวนำยวดยิ่งแบบดั้งเดิมจะมีค่าของอันตราส่วนระหว่างช่องว่างพลังงาน (∆(0)) กับอุณหภูมิวิกฤต เป็น (2∆(0))/Tc = 3.53 เท่ากันทุกชนิดของตัวนำยวดยิ่ง แต่สำหรับตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูงจะมีทั้งที่น้อยกว่าและมากกว่า และสำหรับตัวนำยวดยิ่งแบบสองแถบพลังงานจะมีสัดส่วนนี้สองค่า
อ้างอิง[แก้]
- Burns G.(1992).High-temperature superconductivity : Introduction. New York : Acaddemic Press
- Fetter,A.L.;& Walecka,J.D. (1995).Quantum Theory of Many-Particle System.Singapore: McGraw-Hill
- Kittel,Charlws (1997). Introduction to Solid State Physics 7th edition: Jonh Wiley & Sons