ข้ามไปเนื้อหา

ชวาลาจี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เจ้าแม่ชวาลาจี
stone carving of text on wall, with 5 lines of Sanskrit then 4 lines of Persian looking like Arabic script
จารึกภาษาสันสกฤต (ด้านบน) และเปอร์เซีย (ด้านล่าง) ณ อาเตชกาห์แห่งบากู เมืองบากู ประเทศอาเซอร์ไบจาน อันจารึกนามของพระนาง
ชื่ออื่นชวาลาจี, ชวาลาเทวี, ชวาลามุขขี
คู่ครองพระอังคาร[1][2] ในคณะเทวดานพเคราะห์

ชวาลาจี (หิมาจัล: जवाला जी, ปัญจาบ: ਜਵਾਲਾ ਜੀ, ฮินดี: ज्वाला जी, : ) หรือ ชวาลา เป็นเทวีในศาสนาฮินดู การแสดงออกในรูปกายภาพ (physical manifestation) ของชวาลาจีจะแสดงออกในรูปของกลุ่มเปลวเพลิงที่เผาไหม้นิรันดร์[3] คำว่า ชวาลา แปลว่า เปลวเพลิง ในภาษาสันสกฤต (ตรงกับภาษาโปรโต-อินโด-ยูโรเปียน guelh, อังกฤษ: glow, ลิธัวเนีย: zvilti)[4] ส่วน จี เป็นคำลงท้ายเพื่อสรรเสริญยกย่อง ใช้ทั่วไปในแถบอนุทวีปอินเดีย

ศาสนสถาน

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. https://www.epoojastore.in/index.php?route=news/article&news_id=1137
  2. https://ombeejmantra.com/mangal-beej-mantra/
  3. Horace Hayman Wilson (1871), Select Specimens of the Theatre of the Hindus, Trübner, ... Jwalamukhi is the form of Durga, worshipped wherever a subterraneous flame breaks forth, or wherever jets of carburetted hydrogen gas are emitted from the soil ...
  4. J. P. Mallory, Douglas Q. Adams (1997), Encyclopedia of Indo-European culture, Taylor & Francis, ISBN 1-884964-98-2, ... guelhx - 'burn, glow; charcoal'. ... Lith zvilti 'gleam', Latv zvilnet 'flame, glow', OInd jvalati 'burns', jvala 'flame, coal' ...

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]