จิตวิทยาการเงิน
![]() | บทความนี้อาจต้องการตรวจสอบต้นฉบับ ในด้านไวยากรณ์ รูปแบบการเขียน การเรียบเรียง คุณภาพ หรือการสะกด คุณสามารถช่วยพัฒนาบทความได้ |
จิตวิทยาการเงิน (Behavioral Finance) เป็นการศึกษาผลทางจิตวิทยาของมนุษย์ (Behavioral Biases) ที่มีต่อการตัดสินใจทางการเงิน และผลกระทบต่อเนื่องที่มีต่อราคาหลักทรัพย์และตลาดทุน ทำให้ราคาหลักทรัพย์และตลาดทุนเบี่ยงเบนไปจากราคาที่สมเหตุสมผล (Rationality)
ตัวอย่างของ Behavioral Biases[แก้]
- Anchoring and adjustment
- Availability heuristic
- Conservatism bias
- Disjunction effect
- Disposition effect
- Endowment effect
- Framing
- Herding
- Gamblers fallacy
- Loss aversion
- Mental Accounting
- Money Illusion
- Overreaction
- Representativeness heuristic
- Self-attribution bias
Herding behavior Herding behavior เป็นพฤติกรรมที่เกิดจากการเลียนแบบพฤติกรรมของคนส่วนใหญ่ ซึ่งสามารถอธิบายด้วยหลักจิตวิทยาได้ 2 ประการ คือ ทุกคนต้องการเป็นที่ยอมรับในสังคม การตัดสินใจจึงอิงกับคนส่วนใหญ่ อีกประการหนึ่งบุคคลอานไม่มีข้อมูลเพียงพอในการต้ดสินใจ จึงอาศัยข้อมูลที่คนส่วนมากมี แม้ว่าข้อมูลที่คนส่วนมากรู้อาจไม่ใช่ข้อมูลที่ถูกต้องเสมอไป
ตัวอย่าง: internet bubble, dotcom herding เป็นต้น
Overconfidence Overconfidence investment เป็นการลงทุนที่นักลงทุนมองโลกในแง่ดีเกินไป หรือประเมินความสามารถของตนไว้สูงเกินไป ทั้งในแง่ของการเลือกหุ้น หรือการเข้าออกได้ถูกจังหวะ ซึ่งนักลงทุนที่มีลักษณะนี้จะมีการซื้อขายหลักทรัพย์บ่อยมากกว่านักลงทุนที่มีความมั่นใจน้อยกว่า ซึ่งโดยมากแล้วการลงทุนที่ชนะตลาดเป็นไปได้ยากในระยะยาวหลอ
อ้างอิง[แก้]
![]() |
บทความเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ การเงิน ธุรกิจ หรือ การค้านี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล |