ความงมงาย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
แมวดำ ถือว่าเป็นสัตว์ที่นำมาซึ่งความโชคดีหรือโชคร้าย ขึ้นอยู่กับธรรมเนียม

ความงมงาย (อังกฤษ: superstition) คือความเชื่อหรือการกระทำที่มีฐานจากผู้เชื่อในโชคหรือแรงขับเคลื่อนที่ไม่มีเหตุผล, ไม่เป็นวิทยาศาสตร์ หรือเหนือธรรมชาติ[1] เกือบทุกครั้งมาจากความโง่เขลา, ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์หรือเหตุภาพ, ความเชื่อในเรื่องโชคชะตาหรือไสยศาสตร์ หรือความกลัวในสิ่งที่ไม่รู้ โดยทั่วไปมักกล่าวถึงความเชื่อและการกระทำเกี่ยกับโชค, คำพยากรณ์ และสิ่งเหนือธรรมชาติ โดยเฉพาะความเชื่อต่อเหตุการณ์ในอนาคต[2]


การตรวจสอบว่าสื่งใดเป็น ความงมงาย โดยทั่วไปถือเป็นการดูถูก สิ่งที่ถูกกล่าวโดยเฉพาะมักถูกเรียกเป็นความเชื่อพื้นบ้านในคติชนวิทยา[3]


สิ่งของที่เกี่ยวกับความงมงายหรือโชคลาภนั้นมีจำนวนมาก ขึ้นอยู่กับสังคมต่างๆ เช่น แมวสีดำ,เท้ากระต่าย[4],ลูกสนุ๊กสีดำ

อ้างอิง[แก้]

  1. cf. https://www.merriam-webster.com/dictionary/superstition
  2. Vyse, Stuart A. (2000). Believing in Magic: The Psychology of Superstition. Oxford, England: Oxford University Press. pp. 19–22. ISBN 978-0-1951-3634-0.
  3. For discussion, see for example Georges, Robert A. & Jones, Michael Owen. 1995. Folkloristics: An Introduction, p. 122. Indiana University Press. ISBN 0253329345.
  4. cf. https://www.usnews.com/news/best-countries/slideshows/7-good-luck-charms-from-around-the-world?slide=2