ข้ามไปเนื้อหา

กีฬาเคอร์ลิงในโอลิมปิกฤดูหนาว 2018

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กีฬาเคอร์ลิง
ในโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 23
สนามศูนย์กีฬาเคอร์ลิงคังนึง
คังนึง, ประเทศเกาหลีใต้
วันที่8–25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561
จำนวนรายการ3 (ชาย 1, หญิง 1, ผสม 1)
จำนวนนักกีฬา116 คน คน จาก 13 ประเทศ
← 2014
2022 →

กีฬาเคอร์ลิงในโอลิมปิกฤดูหนาว 2018 เป็นการแข่งขันกีฬาเคอร์ลิงในโอลิมปิกฤดูหนาว ที่จัดขึ้นในเมืองพย็องชัง, ประเทศเกาหลีใต้ ระหว่างวันที่ 8–25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 โดยได้จัดแข่งขันขึ้นที่ ศูนย์กีฬาเคอร์ลิงคังนึง[1] ซึ่งครั้งนี้เป็นครั้งที่ 7 ที่กีฬาเคอร์ลิงได้บรรจุในกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาว

การแข่งขันกีฬาเคอร์ลิงครั้งนี้มีการแข่งขันทั้งหมด 3 รายการ คือ ประเภททีมชาย ประเภททีมหญิง และประเภททีมผสม โดยแต่ละรายการจะมีนักกีฬา 116 คน จาก 10 ประเทศ[2]

ตารางการแข่งขัน

[แก้]

การแข่งขันกีฬาเคอร์ลิงจะเริ่มแข่งขันก่อนพิธีเปิดหนึ่งวัน และสิ้นสุดก่อนถึงพิธีปิดหนึ่งวัน ซึ่งเป็นกีฬาชนิดเดียวที่จัดแข่งขันทุกวัน [3]

RR รอบพบกันหมด SF รอบรองชนะเลิศ B รอบชิงชนะเลิศอันดับ 3 F รอบชิงชนะเลิศ
รายการ↓/วันที่ → พฤ. 8 ศ. 9 ส. 10 อา. 11 จ. 12 อ. 13 พ. 14 พฤ. 15 ศ. 16 ส. 17 อา. 18 จ. 19 อ. 20 พ. 21 พฤ. 22 ศ. 23 ส. 24 อา. 25
ทีมชาย RR RR RR RR RR RR RR RR SF B F
ทีมหญิง RR RR RR RR RR RR RR RR SF B F
ทีมผสม RR RR RR RR SF B F

รอบคัดเลือก

[แก้]

การคัดเลือกนักกีฬาเข้าแข่งขันกีฬาเคอร์ลิงในโอลิมปิกฤดูหนาว 2018 ประเภททีมชาย และทีมหญิง จะใช้คะแนนผลงานในการแข่งขันเคอร์ลิงชิงแชมป์โลก 2016 และ 2017 โดยจะประกาศนักกีฬาที่เข้ารอบทั้งหมด 7 ประเทศ ในช่วงฤดูใบไม้ผลิ ของปี พ.ศ. 2560 และอีก 2 ประเทศ จะมาจากการแข่งขันรอบคัดเลือก ส่วนประเทศเกาหลีใต้ได้เข้ารอบอัตโนมัติในฐานะเจ้าภาพ

การคัดเลือกนักกีฬาเข้าแข่งขันกีฬาเคอร์ลิงในโอลิมปิกฤดูหนาว 2018 ประเภททีมผสม จะใช้คะแนนผลงานในการแข่งขันเคอร์ลิงชิงแชมป์โลก 2016 และ 2017 โดยจะประกาศนักกีฬาที่เข้ารอบทั้งหมด 7 ประเทศ ในช่วงฤดูใบไม้ผลิ ของปี พ.ศ. 2560 ส่วนประเทศเกาหลีใต้ได้เข้ารอบอัตโนมัติในฐานะเจ้าภาพ [4]

สรุปผลการคัดเลือก

[แก้]
ประเทศ ทีมชาย ทีมหญิง คู่ผสม นักกีฬา
แคนาดา X X X 12
จีน X X 7
เดนมาร์ก X X 10
ฟินแลนด์ X 2
สหราชอาณาจักร X X 10
อิตาลี X 5
ญี่ปุ่น X X 10
นอร์เวย์ X X 7
นักกีฬาโอลิมปิกจากรัสเซีย X X 7
เกาหลีใต้ X X X 12
สวีเดน X X 10
สวิตเซอร์แลนด์ X X X 12
สหรัฐ X X X 12
รวม: 13 ประเทศ 10 10 8 116

ประเทศที่เข้าร่วม

[แก้]

มีนักกีฬาทั้งหมด 113 คนจาก 13 ประเทศเข้าร่วมแข่งขัน (รวมถึงคณะนักกีฬาจากนักกีฬาโอลิมปิกจากรัสเซีย)

คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติที่เข้าร่วมการแข่งขัน
เข้าร่วมในปี 2014 แต่ไม่ได้เข้าร่วมปี 2018 เข้าร่วมในปี 2018 แต่ไม่ได้เข้าร่วมปี 2014

ประเทศที่เข้าร่วมครั้งแรก

สรุปเหรียญรางวัล

[แก้]

ตารางเหรียญรางวัล

[แก้]
อันดับที่ ประเทศ ทอง เงิน ทองแดง รวม
1  สวีเดน (SWE) 1 1 0 2
2  แคนาดา (CAN) 1 0 0 1
 สหรัฐ (USA) 1 0 0 1
4  สวิตเซอร์แลนด์ (SUI) 0 1 1 2
5  เกาหลีใต้ (KOR) 0 1 0 1
6  ญี่ปุ่น (JPN) 0 0 1 1
 นอร์เวย์ (NOR) 0 0 1 1
รวม 3 3 3 9

รายการ

[แก้]
รายการ เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
ชาย
รายละเอียด
 สหรัฐ (USA)
จอห์น ชูสเตอร์
ไทเลอร์ จอร์จ
แมตต์ แฮมิลตัน
จอห์น แลนด์สไตเนอร์
โจ โปโล
 สวีเดน (SWE)
นิคลาส เอดีน
ออสการ์ เอริคส์ซอน
รัสมุส วราโน
คริสโตฟเฟอร์ ซุนด์เกรียน
เฮนริค ลีค
 สวิตเซอร์แลนด์ (SUI)
เบอนัว ชวาร์ซ
เคลาดีโอ แพทซ์
ปีเตอร์ เดอ ครูซ
วาล็องแต็ง ตาแนร์
โดมีนิค แมร์คี
หญิง
รายละเอียด
 สวีเดน (SWE)
อันนา ฮัสเซลบอร์ก
ซารา แมคมานาส
อักเนส โนเคนเฮาเออร์
โซเฟีย มอไบส์
เยนนี โวห์ลิน
 เกาหลีใต้ (KOR)
คิม อึน-ช็อง
คิม คยอง-เอ
คิม ซุน-ยัง
คิม ยอง-มี
คิม โช-ฮี
 ญี่ปุ่น (JPN)
ซัตซึกิ ฟูจิซาวะ
ชินะมิ โยชิดะ
ยูมิ ซุซุกิ
ยุริกะ โยชิดะ
มาริ โมโตฮาชิ
ผสม
รายละเอียด
 แคนาดา (CAN)
เคทลิน ลอว์ส
จอห์น มอร์ริส
 สวิตเซอร์แลนด์ (SUI)
เจนนี่ เพอร์เรท
มาร์ติน ริโอส์
 นอร์เวย์ (NOR)1
คริสทิน สกัสเลียน
มักนุส เนเดรกอทเทน
หมายเหตุ
  1. ^ ในตอนแรกทีมนักกีฬาโอลิมปิกจากประเทศรัสเซียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2018 ได้เหรียญทองแดงในประเภทคู่ผสม แต่ถูกริบเหรียญหลังจากที่เจอสารต้องห้ามในร่างกายของอะเลคซันดร์ ครูเชลนิตซกี[5]

สรุปผลการแข่งขัน

[แก้]

ทีมชาย

[แก้]

ประเทศที่เข้าร่วม

[แก้]
การคัดเลือก จำนวน ทีมที่ได้รับเลือก
เจ้าภาพ 1 เกาหลีใต้
เคอร์ลิงชิงแชมป์โลก 2016–2017 7 แคนาดา
สวีเดน
สหรัฐ
ญี่ปุ่น
สวิตเซอร์แลนด์
สหราชอาณาจักร
นอร์เวย์
รอบคัดเลือกโอลิมปิก 2017 2 อิตาลี
เดนมาร์ก
รวม 10

รอบพบกันหมด

[แก้]
ตารางคะแนน
การเข้ารอบ
รอบรองชนะเลิศ
รอบเพลย์ออฟ
ประเทศ
ผู้ชี้เป้า เกม แต้ม เอนด์ % ยิง
ชนะ แพ้ ได้ เสีย ได้ เสีย ว่าง ขโมย
สวีเดน นิคลาส เอดีน 7 2 62 43 34 28 13 8 87%
แคนาดา เควิน โค 6 3 56 46 36 34 14 8 87%
สหรัฐ จอห์น ชูสเตอร์ 5 4 67 63 37 39 4 6 80%
สหราชอาณาจักร ไคล์ สมิธ 5 4 55 60 40 37 8 7 82%
สวิตเซอร์แลนด์ ปีเตอร์ เดอ ครูซ 5 4 60 55 39 37 10 6 83%
นอร์เวย์ โทมัส อูลสรุด 4 5 45 54 32 36 6 6 82%
เกาหลีใต้ ไอหลิง-มิน คิม 4 5 54 59 40 41 7 8 82%
ญี่ปุ่น ยูซุเกะ โมะโระซุมิ 4 5 48 56 33 35 13 5 81%
อิตาลี โฌแอล เรอโตร์นาซ์ 3 6 50 56 37 38 15 7 81%
เดนมาร์ก ราสมุส สเตียร์น 2 7 53 70 36 39 12 5 83%
ผลการแข่งขัน
ประเทศ
Canada Denmark Great Britain Italy Japan Norway South Korea Sweden Switzerland United States สถิติ
แคนาดา 8–3 6–4 5–3 8–4 7–4 7–6 2–5 6–8 7–9 6–3
เดนมาร์ก 3–8 6–7 6–4 4–6 8–10 9–8 5–9 7–9 5–9 2–7
สหราชอาณาจักร 4–6 7–6 7–6 6–5 10–3 5–11 6–8 6–5 4–10 5–4
อิตาลี 3–5 4–6 6–7 5–6 6–4 6–8 3–7 7–4 10–9 3–6
ญี่ปุ่น 4–8 6–4 5–6 6–5 6–4 4-10 4–11 5–6 8–2 4–5
นอร์เวย์ 4–7 10–8 3–10 4–6 4–6 7–5 7–2 5–7 8–5 4–5
เกาหลีใต้ 6–7 8–9 11–5 8–6 10-4 5–7 2–7 8–7 7–11 4–5
สวีเดน 5–2 9–5 8–6 7–3 11–4 2–7 7–2 3–10 10–4 7–2
สวิตเซอร์แลนด์ 8–6 9–7 5–6 4–7 6–5 7–5 7–8 10–3 4–8 5–4
สหรัฐ 9–7 9–5 10–4 9–10 2–8 5–8 11–7 4–10 8–4 5–4

รอบคัดออก

[แก้]
  รอบเพลย์ออฟ     รอบรองชนะเลิศ     รอบชิงชนะเลิศ
                           
        1 สวีเดน 9  
  4 สหราชอาณาจักร 5     5 สวิตเซอร์แลนด์ 3    
  5 สวิตเซอร์แลนด์ 9         1 สวีเดน 7
      3 สหรัฐ 10
      2 แคนาดา 3    
      3 สหรัฐ 5   รอบชิงชนะเลิศอันดับ 3
  2 แคนาดา 5
  5 สวิตเซอร์แลนด์ 7

ทีมหญิง

[แก้]

ประเทศที่เข้าร่วม

[แก้]
การคัดเลือก จำนวน ทีมที่ได้รับเลือก
เจ้าภาพ 1 เกาหลีใต้
เคอร์ลิงชิงแชมป์โลก 2016–2017 7 แคนาดา
นักกีฬาโอลิมปิกจากรัสเซีย
สวิตเซอร์แลนด์
สหราชอาณาจักร
สหรัฐ
สวีเดน
ญี่ปุ่น
รอบคัดเลือกโอลิมปิก 2017 2 จีน
เดนมาร์ก
รวม 10

รอบพบกันหมด

[แก้]
ตารางคะแนน
การเข้ารอบ
รอบรองชนะเลิศ
รอบเพลย์ออฟ
ประเทศ
ผู้ชี้เป้า เกม แต้ม เอนด์ % ยิง
ชนะ แพ้ ได้ เสีย ได้ เสีย ว่าง ขโมย
เกาหลีใต้ คิม อึน-จ็อง 8 1 75 44 41 34 5 15 79%
สวีเดน อันนา ฮัสเซลบอร์ก 7 2 64 48 42 34 14 13 83%
สหราชอาณาจักร อีฟ มิวเออร์เฮด 6 3 61 56 39 38 12 6 79%
ญี่ปุ่น ซัตซึกิ ฟูจิซาวะ 5 4 59 55 38 36 10 13 75%
จีน หวัง ปิงหยู่ 4 5 57 65 35 38 12 5 78%
แคนาดา ราเชล โฮแมน 4 5 68 59 40 36 10 12 81%
สวิตเซอร์แลนด์ ซิลวานา ทิรินโซนี 4 5 60 55 34 37 12 7 78%
สหรัฐ นีน่า รอธ 4 5 56 65 38 39 7 6 78%
นักกีฬาโอลิมปิกจากรัสเซีย วิคตอเรีย มอยเซเยวา 2 7 45 76 34 40 8 6 76%
เดนมาร์ก เมเดอลีน ดูปองต์ 1 8 50 72 32 41 10 6 73%
ผลการแข่งขัน
ประเทศ
Canada China Denmark Great Britain Japan Olympic Athlete From Russia South Korea Sweden Switzerland United States สถิติ
แคนาดา 5–7 8–9 5–6 8–3 9–8 6–8 6–7 10–8 11–3 4–5
จีน 7–5 10–7 7–8 7–6 6–7 5–12 4–8 7–2 4–10 4–5
เดนมาร์ก 9–8 7–10 6–7 5–8 7–8 3–9 3–9 4–6 6–7 1–8
สหราชอาณาจักร 6–5 8–7 7–6 8–6 10–3 4–7 6–8 8–7 4–7 6–3
ญี่ปุ่น 3–8 6–7 8–5 6–8 10–5 7–5 5–4 4–8 10–5 5–4
นักกีฬาโอลิมปิกจากรัสเซีย 8–9 7–6 8–7 3–10 5–10 2–11 4–5 2–11 6–7 2–7
เกาหลีใต้ 8–6 12–5 9–3 7–4 5–7 11–2 7–6 7–5 9–6 8–1
สวีเดน 7–6 8–4 9–3 8–6 4–5 5–4 6–7 8–7 9–6 7–2
สวิตเซอร์แลนด์ 8–10 2–7 6–4 7–8 8–4 11–2 5–7 7–8 6–5 4–5
สหรัฐ 3–11 10–4 7–6 7–4 5–10 7–6 6–9 6–9 5–6 4–5

รอบคัดออก

[แก้]
  รอบรองชนะเลิศ     รอบชิงชนะเลิศ
                 
  1 เกาหลีใต้ 8  
  4 ญี่ปุ่น 7    
      1 เกาหลีใต้ 3
      2 สวีเดน 8
  2 สวีเดน 10    
  3 สหราชอาณาจักร 5   รอบชิงชนะเลิศอันดับ 3
 
3 สหราชอาณาจักร 3
  4 ญี่ปุ่น 5

คู่ผสม

[แก้]

ประเทศที่เข้าร่วม

[แก้]
การคัดเลือก จำนวน ทีมที่ได้รับเลือก
เจ้าภาพ 1 เกาหลีใต้
เคอร์ลิงชิงแชมป์โลก 2016–2017 7 จีน
แคนาดา
นักกีฬาโอลิมปิกจากรัสเซีย
สหรัฐ
สวิตเซอร์แลนด์
นอร์เวย์
ฟินแลนด์
รวม 8

รอบพบกันหมด

[แก้]
ตารางคะแนน
การเข้ารอบ
รอบรองชนะเลิศ
รอบเพลย์ออฟ
ประเทศ
ผู้ชี้เป้า เกม แต้ม เอนด์ % ยิง
ชนะ แพ้ ได้ เสีย ได้ เสีย ว่าง ขโมย
แคนาดา เคทลิน ลอว์ส / จอห์น มอร์ริส 6 1 52 26 28 20 0 9 80%
สวิตเซอร์แลนด์ เจนนี่ เพอร์เรท / มาร์ติน ริโอส์ 5 2 45 40 29 26 0 10 71%
นักกีฬาโอลิมปิกจากรัสเซีย อนาสตาเซีย บรึซกาโลวา / อะเลคซันเดอร์ ครูเชลนิตซกี 4 3 36 44 26 27 1 7 67%
จีน หวัง รุย / ปา เต๋อซิน 4 3 47 42 27 27 1 6 72%
นอร์เวย์ คริสทิน สกัสเลียน / มักนุส เนเดรกอทเทน 4 3 39 43 26 25 1 8 74%
เกาหลีใต้ จัง ฮเย-จี / ลี คี-จอง 2 5 40 40 23 29 1 7 67%
สหรัฐ เบคคา แฮมิลตัน / แมตต์ แฮมิลตัน 2 5 37 43 26 25 0 9 74%
ฟินแลนด์ โอน่า คาอสต์ / โทมี รันทาแมกี 1 6 35 53 23 29 0 6 67%
ผลการแข่งขัน
ประเทศ
Canada China Finland Norway Olympic Athlete From Russia South Korea Switzerland United States of America สถิติ
แคนาดา 10–4 8–2 6–9 8–2 7–3 7–2 6–4 6–1
จีน 4–10 10–5 9–3 5–6 8–7 5–7 6–4 4–3
ฟินแลนด์ 2–8 5–10 6–7 5–7 4–9 6–7 7–5 1–6
นอร์เวย์ 9–6 3–9 7–6 3–4 8–3 6–5 3–10 4–3
นักกีฬาโอลิมปิกจากรัสเซีย 2–8 6–5 7–5 4–3 6–5 8–9 3–9 4–3
เกาหลีใต้ 3–7 7–8 9–4 3–8 5–6 4–6 9–1 2–5
สวิตเซอร์แลนด์ 2–7 7–5 7–6 5–6 9–8 6–4 9–4 5–2
สหรัฐ 4–6 4–6 5–7 10–3 9–3 1–9 4–9 2–5

รอบคัดออก

[แก้]
  รอบเพลย์ออฟ     รอบรองชนะเลิศ     รอบชิงชนะเลิศ
                           
        1 แคนาดา 8  
  4 จีน 7     5 นอร์เวย์ 4    
  5 นอร์เวย์ 9         1 แคนาดา 10
      2 สวิตเซอร์แลนด์ 3
      2 สวิตเซอร์แลนด์ 7    
      3 นักกีฬาโอลิมปิกจากรัสเซีย 5   รอบชิงชนะเลิศอันดับ 3
  3 นักกีฬาโอลิมปิกจากรัสเซีย 8 (DSQ)
  5 นอร์เวย์ 4

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Gangneung Curling Centre". pyeongchang2018. พย็องชัง 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-04-17. สืบค้นเมื่อ 10 เมษายน พ.ศ. 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  2. McKay, Duncan (10 เมษายน พ.ศ. 2559). "New disciplines added to Pyeongchang 2018 but snowboard parallel slalom cut to accommodate them". Insidethegames. สืบค้นเมื่อ 10 เมษายน พ.ศ. 2559. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  3. "Developing Mixed Doubles ahead of Olympic debut". www.worldcurling.org/. World Curling Federation. 14 กันยายน พ.ศ. 2559. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-02-28. สืบค้นเมื่อ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  4. "Qualification Systems for XXIII Olympic Winter Games, PyeongChang 2018" (PDF). World Curling Federation. 9 มีนาคม พ.ศ. 2559. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-06-08. สืบค้นเมื่อ 10 เมษายน พ.ศ. 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  5. "Russian curler stripped of Winter Olympics medal after admitting doping". www.theguardian.com. The Guardian. 22 February 2018. สืบค้นเมื่อ 22 February 2018.