การโต้วาที
![]() | มุมมองและกรณีตัวอย่างในบทความนี้อาจไม่ได้แสดงถึงมุมมองที่เป็นสากลของเรื่อง (เรียนรู้ว่าจะนำสารแม่แบบนี้ออกได้อย่างไรและเมื่อไร) |
การโต้วาที คือการที่มีคนทั้ง 2 ฝ่ายตอบโต้กันมีทั้งฝ่ายเสนอและฝ่ายค้านต้องมีประธานเป็นผู้ดำเนินการโต้วาทีและมีประเด็นที่จะต้องโต้เถียงกัน การโต้วาทีนี้จะมีเวลาให้แต่ละฝ่ายได้พูดถ้าเกินเวลาก็ต้องปรับแพ้เมื่อสิ้นสุดการโต้วาทีก็จะตัดสินว่าฝ่ายไหนโต้ได้ดีที่สุดก็จะเป็นผู้ชนะ
การโต้วาทีในประเทศไทย เกิดขึ้นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2478 ซึ่งพระยาโอวาทวรกิจ เป็นผู้เสนออันมี นายกิมฮวย มะลิทอง กับนายสิน เฉลิมเผ่า เป็นผู้สนับสนุนฝ่ายหนึ่ง และ ร.อ.ต วิเชียร ฉายจรรยา เป็นผู้ค้านอันมีหลวงวิลาศปริวัติ กับนายมงคล รัตนวิจิตร ผู้แทนราษฎรจังหวัด นครศรีธรรมราช เป็นผู้สนับสนุนอีกฝ่ายหนึ่ง[1]
วัตถุประสงค์ของการโต้วาที[แก้]
เพื่อการตัดสิน[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
เพื่อการแข่งขัน[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิง[แก้]
![]() |
คอมมอนส์ มีภาพและสื่อเกี่ยวกับ: การโต้วาที |
![]() |
บทความนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล หมายเหตุ: ขอแนะนำให้จัดหมวดหมู่โครงให้เข้ากับเนื้อหาของบทความ (ดูเพิ่มที่ วิกิพีเดีย:โครงการจัดหมวดหมู่โครงที่ยังไม่สมบูรณ์) |