การสังหารหมู่คาร์ทูม

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
การสังหารหมู่คาร์ทูม
วันที่3 มิถุนายน พ.ศ. 2562
ที่ตั้งคาร์ทูม ซูดาน
ประเภทการสังหารหมู่
เหตุจูงใจClearing the sit-in camp in order to rule Sudan
เป้าหมายผู้ชุมนุมประท้วงชาวซูดาน
เสียชีวิต118 คน (ตัวเลขจากฝ่ายต่อต้าน)[1][2]
62 คน (ตัวเลขจากฝ่ายรัฐบาล)[1]
บาดเจ็บไม่ถึงตายบาดเจ็บมากกว่า 650 คน[ต้องการอ้างอิง] และถูกข่มขืน 70 คน[3][4]
ต้องสงสัยกองกำลังสนับสนุนฉับไว,[5] กองกำลังอาสาสมัครญันญะวีด[4] และกองกำลังรักษาความมั่นคงของสภาทหารระยะเปลี่ยนผ่าน[4]

การสังหารหมู่คาร์ทูม เกิดขึ้นเมื่อวันจันทร์ที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2562 เมื่อกองกำลังทหารติดอาวุธของสภาทหารระยะเปลี่ยนผ่าน (Transitional Military Council) ในประเทศซูดาน นำโดยกองกำลังสนับสนุนฉับไว (Rapid Support Forces) ซึ่งเป็นองค์การที่สืบทอดโดยตรงจากกองกำลังอาสาสมัครญันญะวีด (Janjawīd)[6] ได้ใช้กระสุนปืนและแก๊สน้ำตาสลายกลุ่มผู้ชุมนุมประท้วงที่ปักหลักอยู่หน้ากองบัญชาการกองทัพในกรุงคาร์ทูม ทำให้มีผู้เสียชีวิตกว่า 100 คน[7] ร่างผู้เสียชีวิตอย่างน้อยสี่สิบร่างถูกโยนลงแม่น้ำไนล์[8] พลเรือนไร้อาวุธหลายร้อยคนบาดเจ็บ ในขณะที่อีกหลายร้อยคนถูกจับกุม หลายครอบครัวถูกขู่ขวัญในอาณาเขตบ้านตัวเองทั่วซูดาน[9][10] และมีหญิงและชาย 70 คนถูกข่มขืน[3][4] อินเทอร์เน็ตถูกปิดกั้นเกือบทั้งหมดในซูดานในวันหลังการสังหารหมู่ ทำให้การประเมินจำนวนเหยื่อที่แท้จริงเป็นไปอย่างยากลำบาก[11][12]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 Abdelaziz, Khalid; Georgy, Michael (2019-06-10). "Sudan sit-in bloodshed cripples uprising". Thomson Reuters. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-06-10. สืบค้นเมื่อ 2019-06-10.
  2. Gold, Hannah (Jun 10, 2019). "Sudanese Influencer Pleads for Followers to Spread Awareness of Massacre". The Cut. สืบค้นเมื่อ Jun 13, 2019.
  3. 3.0 3.1 Salih in Khartoum, Zeinab Mohammed; Burke, Jason (2019-06-11). "Sudanese doctors say dozens of people raped during sit-in attack". The Guardian. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-06-11. สืบค้นเมื่อ 2019-06-12.
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 "Complete civil disobedience, and open political strike, to avoid chaos". Sudanese Professionals Association. 2019-06-04. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-06-08. สืบค้นเมื่อ 7 June 2019.
  5. Albaih, Khalid (2019-06-07). "No, it's not over for the Sudanese revolution". Al Jazeera English. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-06-07. สืบค้นเมื่อ 2019-06-07.
  6. "Sudan leader vows to 'uproot regime'" (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). 13 April 2019. สืบค้นเมื่อ 3 June 2019.
  7. CNN, Kareem Khadder and Julia Hollingsworth. "Sudan death roll rises to 100 as bodies found in Nile, say doctors". CNN. สืบค้นเมื่อ 6 June 2019.
  8. "Death toll in Sudan crackdown rises to 100 after 40 bodies recovered from Nile | IOL News". www.iol.co.za (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 6 June 2019.
  9. "Protesters shot as Sudan military tries to clear Khartoum sit-in". www.aljazeera.com. สืบค้นเมื่อ 3 June 2019.
  10. Oliphant, Roland (3 June 2019). "Sudan protests: Thirty dead and more than 100 injured as troops disperse demonstrators". The Telegraph (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). ISSN 0307-1235. สืบค้นเมื่อ 3 June 2019.
  11. "Turn the Internet Back On in Sudan, and Keep It On". Internet Society (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2019-06-09.
  12. CNN, Julia Hollingsworth, Gianluca Mezzofiore and Sarah El Sirgany. "At least 35 killed as Sudan military storms sit-in". CNN. สืบค้นเมื่อ 2019-06-09.