การระบาดของฝีดาษลิง พ.ศ. 2565
![]() | บทความนี้อาจต้องการตรวจสอบต้นฉบับ ในด้านไวยากรณ์ รูปแบบการเขียน การเรียบเรียง คุณภาพ หรือการสะกด คุณสามารถช่วยพัฒนาบทความได้ |
การแพร่ระบาดของฝีดาษลิง พ.ศ. 2565 | |
---|---|
![]() แผนที่แสดงการระบาด ณ วันที่ 14 ตุลาคม ค.ศ. 2022 | |
โรค | ฝีดาษลิงมนุษย์ |
สายพันธุ์ไวรัส | ไวรัสฝีดาษลิง (MPV) เคลดในแอฟริกาตะวันตก เคลดย่อยในการแพร่ระบาดที่ไนจีเรีย ค.ศ. 2017–2019[1] |
แหล่งที่มา | การเดินทางมาจากประเทศไนจีเรีย (สันนิษฐาน)[2][3] |
สถานที่ | 103 ประเทศและดินแดน |
การระบาดครั้งแรก | ลอนดอน ประเทศอังกฤษ |
วันที่ | 4 พฤษภาคม ค.ศ. 2022 – ปัจจุบัน (10 เดือน และ 23 วัน) |
ผู้ป่วยยืนยันสะสม | 45,075 คน |
ผู้ต้องสงสัยป่วย‡ | 7,655 คน |
เสียชีวิต | 116 คน[4][5][6][7][8][9] |
‡Suspected cases have not been confirmed by laboratory tests as being due to this strain, although some other strains may have been ruled out. |
การระบาดของฝีดาษลิงเกิดขึ้นครั้งแรกในสหราชอาณาจักรเมื่อวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 2022 โดยมีอาการของฝีดาษลิงในชาวอังกฤษซึ่งเดินทางไปประเทศไนจีเรีย ซึ่งเป็นโรคเฉพาะถิ่น ต่อมาบุคคลดังกล่าวเดินทางกลับเข้ามาในสหราชอาณาจักรในวันที่ 4 พฤษภาคม โดยนำผู้ป่วยที่เป็นต้นเหตุเข้ามาในประเทศ
ไม่ทราบแหล่งที่มาของกรณีฝีดาษลิงหลายกรณีในสหราชอาณาจักร อย่างไรก็ตาม พบการแพร่ระบาดของฝีดาษลิงในชุมชนในพื้นที่กรุงลอนดอนเมื่อกลางเดือนพฤษภาคม[10] มีรายงานการติดเชื้อไวรัสในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของอังกฤษและนอกสหราชอาณาจักรซึ่ง ณ วันที่ 20 พฤษภาคม ค.ศ. 2022 มีผู้ติดเชื้อ 5 คนในโปรตุเกส, 1 คนในสวีเดน, 1 คนในอิตาลี, 1 คนในเบลเยียม, 1 คนในสหรัฐ, 7 คนในแคนาดา, 30 คนในสเปน, 1 คนในเยอรมนี[11] และ 2 คนในออสเตรเลีย[12][13]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ Rambaut, Andrew (21 May 2022). "Discussion of on-going MPXV genome sequencing". Virological.org (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-05-23. สืบค้นเมื่อ 21 May 2022.
- ↑ "Monkeypox spreads in West, baffling African scientists". ABC News (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 20 May 2022.
- ↑ Mandavilli, Apoorva (18 May 2022). "A Massachusetts Man Is Infected With Monkeypox". The New York Times (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). ISSN 0362-4331. สืบค้นเมื่อ 20 May 2022.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อwho-statement-highest-alert
- ↑ Fonseca, Pedro (29 July 2022). "Brazil reports first monkeypox death outside Africa in current outbreak". Reuters. สืบค้นเมื่อ 29 July 2022.
- ↑ Faus, Joan (30 July 2022). "Spain reports second monkeypox-related death in Europe". Reuters. สืบค้นเมื่อ 30 July 2022.
- ↑ "Youth who died in Kerala's Thrissur succumbed to monkeypox, says health dept after NIV confirms". The Indian Express. สืบค้นเมื่อ 1 August 2022.
- ↑ "One person dead after contracting monkeypox". MyJoyOnline.com. สืบค้นเมื่อ 31 July 2022.
- ↑ "Perú confirma la muerte de un paciente afectado por viruela del mono". MachalaMovil. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-08-09. สืบค้นเมื่อ 1 August 2022.
- ↑ Pinkstone, Joe (2022-05-17). "Monkeypox 'spreading in sexual networks'". The Telegraph. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 May 2022. สืบค้นเมื่อ 2022-05-17.
- ↑ "Erster Fall von Affenpocken in Deutschland bestätigt". Die Zeit (ภาษาเยอรมัน). สืบค้นเมื่อ 20 May 2022.
- ↑ "Health officials to provide update on suspected cases of monkeypox in Montreal". Montreal (ภาษาอังกฤษ). 2022-05-19. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 May 2022. สืบค้นเมื่อ 2022-05-19.
- ↑ "Monkeypox confirmed in Melbourne and Sydney". 20 May 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 May 2022. สืบค้นเมื่อ 20 May 2022.