การบริโภคพลังงานของโลก
การใช้พลังงานของโลก หมายถึง พลังงานทั้งหมดที่มนุษย์เพื่อการดำรงชีวิต โดยการใช้พลังงานในแต่ละปี เป็นพลังงานที่มนุษย์ใช้ภาคอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีของแต่ละประเทศ การใช้พลังงานของโลกในปัจจุบันส่งผลต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์
สถานบันต่างๆ เช่น สถาบันพลังงานระหว่างประเทศ ได้มีการบันทึกข้อมูลการใชัพลังงานของโลกอยู่ตลอดเวลา ซึ่งข้อมูลที่รวบรวมได้จะเป็นประโยชน์ในการศึกษาแนวโน้มการใชัพลังงานของโลกและการวางแผนการใช้พลังงานในอนาคต
การใช้พลังงานฟอสซิลที่เพิ่มขึ้นมากที่สุดใน พ.ศ. 2543 - 2551 ในเดือนตุลาคม 2555 สถาบันพลังงานระหว่างประเทศ พบว่าการใช้พลังงานถ่านหินมีศรึ่งในพลังงานที่ใช้กันทั้งโลก แต่การใชัพลังงานหมุนเวียนในปัจจุบันมีการใชัพลังงานหมุนเวียนมากขึ้น ในปี พ.ศ. 2522 อุบัติเหตุนิวเคลียร์เกาะทรีไมล์ และ พ.ศ. 2529 อุบัติเหตุนิวเคลียร์เชอร์โนบิล การสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ใช้ทุนในการก่อสร้างสุง ปัจจุบันการใชัพลังงานนิวเคลียร์มีการใชัอัตราที่น้อยลง[1]
พลังงาน (terawatt-hour)[2] | ||||
---|---|---|---|---|
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ | พลังงานนิวเคลียร์ | พลังงานทดแทน | ทั้งหมด | |
2533 | 83,374 | 6,113 | 13,082 | 102,569 |
2543 | 94,493 | 7,857 | 15,337 | 117,687 |
2551 | 117,076 | 8,283 | 18,492 | 143,851 |
การเปลี่ยนแปลง 2543 - 2551 | +23.9% | +5.4% | +20.6% | +22.2% |
1 terawatt-hour (TWh) = 1 billion กิโลวัตต์ต่อชั่วโมงs (kWh) = 1012 วัตต์ต่อชั่วโมงs
อ้างอิง
[แก้]- ↑ International Panel on Fissile Materials (September 2010). "The Uncertain Future of Nuclear Energy" (PDF). Research Report 9. p. 1.[ลิงก์เสีย]
- ↑ Eenergiläget i siffror 2011 figure 49 and 53