กะตังใบ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กะตังใบ
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Plantae
หมวด: Magnoliophyta
ชั้น: Magnoliopsida
อันดับ: Vitales
วงศ์: Vitaceae
สกุล: Leea
สปีชีส์: L.Indica
ชื่อทวินาม
Leea indica
(Burm. f.) Merr.
ชื่อพ้อง[1]
รายชื่อ
    • Aquilicia sambucina L. [Illegitimate]
    • Leea biserrata Miq.
    • Leea celebica Clarke
    • Leea divaricata T. & B.
    • Leea expansa Craib
    • Leea fuliginosa Miq.
    • Leea gigantea Griff.
    • Leea gracilis Lauterb.
    • Leea longifolia Merr.
    • Leea naumannii Engl.
    • Leea novoguineensis Val.
    • Leea ottilis (Gaertn.) DC.
    • Leea palambanica Miq.
    • Leea pubescens Zipp. ex Miquel
    • Leea ramosii Merr.
    • Leea robusta Blume
    • Leea roehrsiana Sanders ex Masters
    • Leea sambucifolia Salisb.
    • Leea sambucina (L.) Willd.
    • Leea sambucina var. biserrata (Miq.) Miq.
    • Leea sambucina var. heterophylla Zipp. ex Miquel
    • Leea sambucina var. occidentalis Clarke
    • Leea sambucina var. robusta Miq.
    • Leea sambucina var. roehrsiana (Sanders ex Masters) Chitt.
    • Leea sambucina var. simplex Miq.
    • Leea sambucina var. sumatrana (Miq.) Miq.
    • Leea staphylea Roxb.
    • Leea sumatrana Miq.
    • Leea sundaica Miq.
    • Leea sundaica var. fuliginosa (Miq.) Miq.
    • Leea sundaica var. pilosiuscula Span. ex Miq.
    • Leea sundaica var. subsessilis Miq.
    • Leea umbraculifera C.B. Clarke
    • Leea viridiflora Planch.
    • Staphylea indica Burm. f.

กะตังใบ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Leea indica) อยู่ในวงศ์ Vitaceae กระจายพันธุ์ในเขตอินโดมลายู, อินโดจีน, ออสเตรเลีย และหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก และในเทือกเขาฆาตตะวันตกในอินเดีย[2] เป็นไม้ประดับและไม้พุ่ม ลำต้นมีขนปกคลุม ดอกออกเป็นช่อตั้ง ออกดอกตามซอกใบ ผลกลมแป้น เนื้อนุ่ม เมื่ออ่อนสีเขียว แก่จัดเป็นสีแดงเข้มถึงม่วงดำ

การใช้ประโยชน์[แก้]

1. รากใช้ต้มน้ำดื่มแก้ปวดท้อง ท้องเสีย ขับเหงื่อ แก้ไข้[3]

2. ทางจังหวัดอุบลราชธานีใช้รากฝนกับเหล้าแก้ไฟไหม น้ำร้อนลวก[4]

3. ผลรับประทานได้ ชาวเมี่ยนใช้ผลสุกเป็นเหยื่อตกปลา [5]

4. ชาวกะเหรี่ยงแดงนำใบมาต้มให้หมูกิน รากต้มน้ำดื่มแก้อาการท้องร่วง[6]

อ้างอิง[แก้]

  1. From ThePlantList.org
  2. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-06-15. สืบค้นเมื่อ 2014-05-10.
  3. ป่าแม่คำมี: ความหลากหลายทางชีวภาพจากอดีตถึงปัจจุบัน. กทม. สำนักวิจัยและพัฒนาป่าไม้. 2556
  4. กะตังใบ ฐานข้อมูลสมุนไพร
  5. http://eherb.hrdi.or.th/search_result_details.php?herbariumID=607&name=%E0%B8%81%E0%B8%B0%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B9%83%E0%B8%9A
  6. http://eherb.hrdi.or.th/search_result_details.php?herbariumID=607&name=%E0%B8%81%E0%B8%B0%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B9%83%E0%B8%9A

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]