ข้ามไปเนื้อหา

กองพลทหารราบที่ 2 (สหรัฐ)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กองพลทหารราบที่ 2
2nd Infantry Division
อาร์มหน่วยที่ไหล่ของกองพลทหารราบที่ 2
ประจำการค.ศ. 1917; 107 ปีที่แล้ว (1917)
ประเทศ สหรัฐอเมริกา
เหล่า กองทัพบกสหรัฐ
รูปแบบทหารราบ
บทบาทกองบัญชาการ
กำลังรบกองพล
ขึ้นกับ กองทัพบกที่แปด
กองบัญชาการประเทศเกาหลีใต้ (กองบัญชาการ), ค่ายลูวิส รัฐวอชิงตัน
สมญา"หัวอินเดียนแดง"[1]
คำขวัญไม่เป็นสองรองใคร
สีหน่วย   แดงและน้ำเงิน
เพลงหน่วยวอริเออร์มาร์ช
ปฏิบัติการสำคัญสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

สงครามโลกครั้งที่สอง

สงครามเกาหลี

ความขัดแย้งเขตปลอดทหารเกาหลี

สงครามต่อต้านการก่อการร้าย

เว็บไซต์เพจเฟซบุ๊ก
ผู้บังคับบัญชา
ผู้บัญชาการปัจจุบันพลตรี เดวิด เอ. เลสเปแรนซ์[2]
รองผู้บังคับบัญชา – กลยุทธ์พลจัตวา กาย เอ็ม. โจนส์
รองผู้บังคับบัญชา – สนับสนุนพลจัตวา แลนซ์ เค. แคลเวิร์ต
รองผู้บังคับบัญชา – สาธารณรัฐเกาหลีพลจัตวา ยู อุกซัง, กองทัพบกสาธารณรัฐเกาหลี
เสนาธิการพันเอก เจอโรม เอ. พาร์กเกอร์
เสนาธิการ - สาธารณรัฐเกาหลีพันเอก จิน ฮัก-กึน, กองทัพบกสาธารณรัฐเกาหลี
จ่าสิบโทจ่าสิบโท ชอว์น เอฟ. คานส์
ผบ. สำคัญรายชื่อผู้บังคับบัญชาทั้งหมด
เครื่องหมายสังกัด
เครื่องหมายระบุราชการรบ
เครื่องหมายเด่น
ธง
แถบกองบัญชาการกองพลผสมกองพลทหารราบที่ 2 และกองพลทหารราบที่ 8 (กองทัพบกสาธารณรัฐเกาหลี)

กองพลทหารราบที่ 2 (อังกฤษ: 2nd Infantry Division; อักษรย่อ: 2ID, 2nd ID หรือ Second D) หรือสมญานาม "หัวอินเดียนแดง"[1] เป็นส่วนหนึ่งของกองทัพบกสหรัฐ ซึ่งภารกิจหลักในปัจจุบันคือการป้องกันประเทศเกาหลีใต้ในกรณีที่มีการรุกรานจากประเทศเกาหลีเหนือ มีทหารประมาณ 17,000 นายในกองทหารราบที่ 2 โดยมี 10,000 นายประจำการในเกาหลีใต้[3] คิดเป็นประมาณ 35 เปอร์เซ็นต์ของกำลังพลกองทัพสหรัฐในเกาหลี

กองพลทหารราบที่ 2 มีลักษณะเฉพาะตรงที่เป็นกองพลกองทัพบกสหรัฐเพียงกองเดียวที่ประกอบขึ้นจากทหารเกาหลีใต้บางส่วน เรียกว่าโครงการเสริมกำลังทหารของเกาหลีในกองทัพสหรัฐ (KATUSA) โครงการนี้เริ่มใน ค.ศ. 1950 โดยข้อตกลงกับอี ซึง-มัน ผู้เป็นประธานาธิบดีคนแรกของเกาหลีใต้ ทหารของโครงการเสริมกำลังทหารของเกาหลีในกองทัพสหรัฐประมาณ 27,000 นายเข้าประจำการกับกองกำลังสหรัฐเมื่อสิ้นสุดสงครามเกาหลี ส่วนในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2006 ทหารโครงการเสริมกำลังทหารของเกาหลีในกองทัพสหรัฐประมาณ 1,100 นายได้เข้าประจำการกับกองพลทหารราบที่ 2 นอกจากนี้ ยังมีทหารดัตช์มากกว่า 4,748 นายที่ได้รับมอบหมายให้เข้าร่วมกองพลนี้ระหว่าง ค.ศ. 1950 ถึง 1954[4][5]

หมายความว่าเป็นกองพลทหารราบที่ 2-กองพลผสมสาธารณรัฐเกาหลี/สหรัฐ ซึ่งกองพลนี้เสริมด้วยกองพลน้อยชุดรบแบบหมุนเวียนจากกองพลที่เหลือของกองทัพสหรัฐ[6]

ประวัติ

[แก้]

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

[แก้]
เพรสตัน บราวน์ ขณะประดับเครื่องหมายกองพลทหารราบที่ 2
เอ็ดเวิร์ด แมนน์ ลูวิส พร้อมเครื่องอิสริยาภรณ์

กองพลทหารราบที่ 2 ได้รับการจัดตั้งขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ 21 กันยายน ค.ศ. 1917 ในกองทัพประจำการ[7][8][9][10] และได้รับการจัดวางเมื่อวันที่ 26 ตุลาคม ค.ศ. 1917 ที่บูร์มอ จังหวัดโอต-มาร์น ประเทศฝรั่งเศส[11]

การจัดขบวนรบ

[แก้]

แหล่งที่มา

[แก้]
  • "Maps Locating Army Active, Reserve and National Guard and Marine Field Artillery Units". Field Artillery (ภาษาอังกฤษ). US Field Artillery Association (PB 6-87-6 (TEST)): 32–36. December 1987. ISSN 0191-975X.
  • "Eighth Army in Korea-Continuing a Tradition". Soldier Support Journal (ภาษาอังกฤษ). US Army Soldier Support Center. 9 (3): 12–16. May–June 1982. ISSN 0274-9513. Article contributed by the Public Affairs Office, Headquarters, US Forces, Korea.

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 "Special Unit Designations". United States Army Center of Military History. 21 April 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 31 May 2009. สืบค้นเมื่อ 23 June 2010.
  2. "Commanding General, 2ID/RUCD". สืบค้นเมื่อ 2021-05-26.
  3. Tan, Michelle. "Army bans alcohol for 2nd ID in South Korea". Army Times. สืบค้นเมื่อ 5 April 2013.
  4. Defensie, Ministerie van (13 January 2016). "Korea-oorlog - Historische missies - Defensie.nl". www.defensie.nl.
  5. Defensie, Ministerie van (13 January 2016). "Nederlands aandeel Korea-oorlog - Historische missies - Defensie.nl". www.defensie.nl.
  6. Rotational units join 2ID/RUCD, ensure continued Fight Tonight readiness accessdate=2016-10-28
  7. "Lineage and Honors Information: 2nd Infantry Division". United States Army Center of Military History. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-09-17. สืบค้นเมื่อ 3 November 2009.
  8. In World War I, there was only one type of division in the US Army, the infantry division, and all divisions were called simply "Division".
  9. Rinaldi, Richard A. (2004). The U. S. Army in World War I: Orders of Battle. General Data LLC. pp. 29–30. ISBN 0-9720296-4-8.
  10. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ stanton2006
  11. "2nd Infantry Division Homepage: History". 2nd Infantry Division. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 July 2012. สืบค้นเมื่อ 4 November 2009.
  12. McClellan, Major Edwin N. (1920). The United States Marine Corps in the World War. Washington D.C.: U.S. Marine Corps History Division. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-08-29. สืบค้นเมื่อ 23 February 2017.
  13. McGrath, John J. (2004). The Brigade: A History: Its Organization and Employment in the US Army. Combat Studies Institute Press. p. 165. ISBN 978-1-4404-4915-4.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]