ข้ามไปเนื้อหา

กระโดดน้ำชิงแชมป์ยุโรป 2023

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กระโดดน้ำชิงแชมป์ยุโรป 2023
เมืองเจ้าภาพแชชุฟ
ประเทศธงของประเทศโปแลนด์ โปแลนด์
นักกีฬาเข้าร่วม125
ชนิด13
วันที่22–28 มิถุนายน ค.ศ. 2023
เว็บไซต์ทางการhttp://www2.len.eu/?p=14872

การแข่งขันกีฬากระโดดน้ำชิงแชมป์ยุโรป 2023 จัดขึ้นที่เมืองแชชุฟ ประเทศโปแลนด์ ตั้งแต่วันที่ 22 ถึง 28 มิถุนายน ค.ศ. 2023 นับเป็นครั้งที่ 7 ของการแข่งขันกระโดดน้ำชิงแชมป์ยุโรปเพียงชนิดเดียวและเป็นครั้งที่ 42 ของการแข่งขันประโดดน้ำในรายการชิงแชมป์ยุโรปทั้งหมด ซึ่งรวมส่วนกีฬากระโดดน้ำในการแข่งขันกีฬาทางน้ำชิงแชมป์ยุโรปด้วย ครั้งนี้เป็นครั้งแรกที่การแข่งขันชิงแชมป์ถูกรวมเข้ากับ ยูโรเปียนเกมส์ 2023; กีฬากระโดดน้ำในกีฬาทางน้ำชิงแชมป์ยุโรป 2018 ซึ่งก่อนหน้านี้ได้รวมเข้ากับการแข่งขันกีฬาชิงแชมป์ยุโรป 2018 ที่เป็นการแข่งขันกีฬาหลายประเภท ในขณะที่กระโดดน้ำเยาวชนชิงแชมป์ยุโรปก่อนหน้านี้เป็นส่วนหนึ่งของยูโรเปียนเกมส์ 2015

การแข่งขันนี้เป็นการแข่งขันรอบคัดเลือกสำหรับโอลิมปิกฤดูร้อน 2024 โดยมีโควตามอบให้แก่คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติที่ชนะเลิศทั้งชายและหญิง ในรายการ 3 เมตร และ 10 เมตร มีการแข่งขันทั้งแปดรายการที่จัดในกีฬาโอลิมปิก โดยมีรายการสปริงบอร์ด 1 เมตรสำหรับชายและหญิง คู่ผสมสำหรับสปริงบอร์ด 3 เมตรและแพลตฟอร์ม 10 เมตร และยังมีการแข่งขันทีมผสมด้วย

European Diving Trophy จะมอบให้กับทีมที่ประสบความสำเร็จมากที่สุด ทีมชนะเลิศจากปี ค.ศ. 2022 คือ สหราชอาณาจักร

ตารางเหรียญรางวัล

[แก้]

  *  เจ้าภาพ ( โปแลนด์)

ลำดับที่ประเทศทองเงินทองแดงรวม
1 ยูเครน4105
2 เยอรมนี3306
3 สหราชอาณาจักร3227
4 อิตาลี23510
5 สวิตเซอร์แลนด์1012
6 ฝรั่งเศส0224
7 สวีเดน0213
8 สเปน0022
รวม (8 ประเทศ)13131339

ผู้ได้รับเหรียญรางวัล

[แก้]

ประเภทชาย

[แก้]
รายการ เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
สปริงบอร์ด 1 ม.
รายละเอียด
รอสส์ ฮัสแลม
 สหราชอาณาจักร
422.95 อเล็กซิส ยานดาร์ด
 ประเทศฝรั่งเศส
411.50 ลอเรนโซ มาร์ซาเกลีย
 ประเทศอิตาลี
410.55
สปริงบอร์ด 3 ม.
รายละเอียด
มอริตซ์ เวสมันน์
 ประเทศเยอรมนี
465.40 จูลส์ บูเยอร์
 ประเทศฝรั่งเศส
440.15 อเล็กซิส ยานดาร์ด
 ประเทศฝรั่งเศส
430.70
แพลตฟอร์ม 10 ม.
รายละเอียด
ติโม บาร์เธล
 ประเทศเยอรมนี
435.40 ร็อบบี้ ลี
 สหราชอาณาจักร
413.20 ริคคาร์โด้ จิโอวานนินี่
 ประเทศอิตาลี
411.20
สปริงบอร์ด 3 ม. ชายคู่
รายละเอียด
ยูเครน
โอเลห์ โคโลดี้
ดานีโล โคโนวาลอฟ
410.16 อิตาลี
ลอเรนโซ มาร์ซาเกลีย
จิโอวานนี่ ทอชชี่
402.66 ฝรั่งเศส
จูลส์ บูเยอร์
อเล็กซิส แจนดาร์ด
394.92
แพลตฟอร์ม 10 ม. ชายคู่
รายละเอียด
ยูเครน
คิริลล์ โบลิวห์
โอเลกซีย์ เซเรดา
398.70 อิตาลี
ริคคาร์โด้ จิโอวานนินี
เอดูอาร์ด ทิมเบรตติ กูจู
388.83 สหราชอาณาจักร
เบ็น คัตมอร์
แมทธิว ดิกสัน
372.69

ประเภทหญิง

[แก้]
รายการ เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
สปริงบอร์ด 1 ม.
รายละเอียด
มิเชล ไฮม์เบิร์ก
 ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
273.25 เอมิเลีย นิลส์สัน การิป
 ประเทศสวีเดน
273.10 เกรซ รีด
 สหราชอาณาจักร
266.90
สปริงบอร์ด 3 ม.
รายละเอียด
เชียร่า เปลลาคานี่
 ประเทศอิตาลี
321.45 เอมิเลีย นิลส์สัน การิป
 ประเทศสวีเดน
316.60 มิเชล ไฮม์เบิร์ก
 ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
306.70
แพลตฟอร์ม 10 ม.
รายละเอียด
อีเดน เฉิง
 สหราชอาณาจักร
331.60 คริสตินา วาสเซน
 ประเทศเยอรมนี
330.95 ซาราห์ โจดอย ดิ มาเรีย
 ประเทศอิตาลี
320.10
สปริงบอร์ด 3 ม. หญิงคู่
รายละเอียด
สหราชอาณาจักร
เดชาร์เน่ เบนท์-แอชเมล
เอมี่ โรลลินสัน
279.90 เยอรมนี
ลีน่า เฮนท์เชล
จาน่า ลิซ่า โรเธอร์
276.33 อิตาลี
เอเลน่า แบร์โตคชี
เคียรา เปลลากานี
273.69
แพลตฟอร์ม 10 ม. หญิงคู่
รายละเอียด
เยอรมนี
คริสตินา วาสเซน
เอเลน่า วาสเซน
297.72 ยูเครน
เซนิยา เบย์โล
โซเฟีย เอสมาน
274.68 สเปน
วาเลเรีย อันโตลิโน
อานา คาร์บาฆาล
261.48

ประเภทผสม

[แก้]
รายการ เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
สปริงบอร์ด 3 ม. คู่ผสม
รายละเอียด
อิตาลี
เชียรา เปลลากานี
มัตเตโอ ซานโตโร
291.39 สหราชอาณาจักร
เกรซ รีด
เจมส์ ฮีตลีย์
283.89 สวีเดน
เอมิเลีย นิลส์สัน การิป
เอเลียส ปีเตอร์เซน
282.60
แพลตฟอร์ม 10 ม. คู่ผสม
รายละเอียด
ยูเครน
เซนิยา เบย์โล
คิริลล์ โบลิวห์
322.68 เยอรมนี
เอเลนา วาสเซน
อเล็กซานเดอร์ ลู้บ
306.12 อิตาลี
ซาราห์ โจโดอิน ดิ มาเรีย
เอดูอาร์ด ทิมเบรตติ กูกิว
283.14
ทีมผสม
รายละเอียด
ยูเครน
เซนิยา เบย์โล
ดานีโล โคโนวาลอฟ
แอนนา พิสเมนสกา
โอเล็กซีย์ เซเรดา
438.30 อิตาลี
ซาราห์ โจดอย ดิ มาเรีย
ลอเรนโซ มาร์ซาเกลีย
เคียรา เปลลาคานี
เอดูอาร์ด ทิมเบรตติ กูจู
398.25 สเปน
วาเลเรีย อันโตลิโน
อัลแบร์โต อาเรวาโล
โรซิโอ เบลัซเกซ
คาร์ลอส กามาโช่
381.45

อ้างอิง

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]