ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มอเนอรา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Phizaz (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 20: บรรทัด 20:
| subdivision =
| subdivision =
}}
}}
สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรมอเนอราหรือเรียกว่า ประมาณว่ามีจำนวนถึง 4 ล้านสปีชีส์
'''มอเนอรา''' ({{lang-en|Monera}}) เป็นสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรมอเนอราหรือเรียกว่า ประมาณว่ามีจำนวนถึง 4 ล้านสปีชีส์
รวมทั้งองค์ประกอบของผนังเซลล์ ทำให้จำแนกแบคทีเรียออกเป็น 2 อาณาจักรย่อย คือ อาณาจักย่อยอาร์เคียแบคทีเรีย, อาณาจักรย่อยยูแบคทีเรีย
รวมทั้งองค์ประกอบของผนังเซลล์ ทำให้จำแนกแบคทีเรียออกเป็น 2 อาณาจักรย่อย คือ อาณาจักย่อยอาร์เคียแบคทีเรีย, อาณาจักรย่อยยูแบคทีเรีย


บรรทัด 35: บรรทัด 35:
===กลุ่ม[[คลาไมเดีย]]===
===กลุ่ม[[คลาไมเดีย]]===
เป็นปรสิตในเซลล์สัตว์ทำให้เกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น โรคโกโนเรีย หรือ[[หนองใน]] เป็นต้น
เป็นปรสิตในเซลล์สัตว์ทำให้เกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น โรคโกโนเรีย หรือ[[หนองใน]] เป็นต้น

===กลุ่ม[[สไปโรคีท]]===
===กลุ่ม[[สไปโรคีท]]===
มีรูปทรงเกลียว ดำรงชีวิตแบบอิสระแต่บางสปีชีส์เป็นสาเหตุของโรคซิฟิลิส หรือ[[โรคฉี่หนู]]
มีรูปทรงเกลียว ดำรงชีวิตแบบอิสระแต่บางสปีชีส์เป็นสาเหตุของโรคซิฟิลิส หรือ[[โรคฉี่หนู]]
บรรทัด 52: บรรทัด 51:
ภายในเซลลฺไม่มีเยื่อหุ้มสารพันธุกรรม และไม่มีโครงสร้างอื่น
ภายในเซลลฺไม่มีเยื่อหุ้มสารพันธุกรรม และไม่มีโครงสร้างอื่น
มีรูปร่าง 3 แบบ ได้แก่ รูปทรงกลม(coccus), รูปทรงท่อน(bacillus), รูปทรงเกลียว(spirillum)
มีรูปร่าง 3 แบบ ได้แก่ รูปทรงกลม(coccus), รูปทรงท่อน(bacillus), รูปทรงเกลียว(spirillum)

==การดำรงชีวิต==
==การดำรงชีวิต==
สามารถสร้างอาหารเองได้โดยใช้พลังงานจากแสง (photosynthesis)
สามารถสร้างอาหารเองได้โดยใช้พลังงานจากแสง (photosynthesis)
หรือใช้พลังจาก[[ปฏิกิริยาเคมี]] (chemosynthesis) เช่น ซัลเฟอร์แบคทีเรีย<br />
หรือใช้พลังจาก[[ปฏิกิริยาเคมี]] (chemosynthesis) เช่น ซัลเฟอร์แบคทีเรีย<br />
แต่ส่วนใหญ่สร้างอาหารเองไม่ได้ สามารถอยู่ได้ในสภาพแวดล้อมที่หนาวจัด ร้อนจัด ทะเลมีความเค็มมาก หรือในสภาพที่มีความเป็นกรดสูง
แต่ส่วนใหญ่สร้างอาหารเองไม่ได้ สามารถอยู่ได้ในสภาพแวดล้อมที่หนาวจัด ร้อนจัด ทะเลมีความเค็มมาก หรือในสภาพที่มีความเป็นกรดสูง

== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.pubmedcentral.gov/articlerender.fcgi?tool=pubmed&pubmedid=2439888 Bacterial evolution] by [[Carl Woese]] (1987). Woese reviewed the historical steps leading to the use of the term "Monera" and its later abandonment (full text online). {{Entrez Pubmed|2439888}}
* [http://www.thebigger.com/section/biology/monera/ What is Monera? A descriptive details of the entire kingdom]


[[หมวดหมู่:โพรแคริโอต|มอเนอรา]]
[[หมวดหมู่:โพรแคริโอต|มอเนอรา]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:06, 19 กรกฎาคม 2553

มอเนอรา (อังกฤษ: Monera) เป็นสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรมอเนอราหรือเรียกว่า ประมาณว่ามีจำนวนถึง 4 ล้านสปีชีส์ รวมทั้งองค์ประกอบของผนังเซลล์ ทำให้จำแนกแบคทีเรียออกเป็น 2 อาณาจักรย่อย คือ อาณาจักย่อยอาร์เคียแบคทีเรีย, อาณาจักรย่อยยูแบคทีเรีย

อาณาจักรย่อยอาร์เคียแบคทีเรีย

อาร์เคียแบคทีเรียผนังเซลล์ไม่มีเปบทิโดไกลแคนดำรงชีวิตในแหล่งน้ำพุร้อน ทะเลที่มีน้ำเค็มจัด บริเวณที่มีความเป็นกรดสูง และบริเวณทะเลลึก แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ

กลุ่มยูริอาร์เคียโอตา

ซึ่งสร้างมีเทนและชอบความเค็มจัด

กลุ่มครีนาร์เคียโอตา

ซึ่งชอบอุณหภูมิสูงและกรดจัด

อาณาจักรย่อยยูแบคทีเรีย

นับว่าเป็นแบคทีเรียแท้ แบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ 5 กลุ่ม คือ

กลุ่มโพรทีโอแบคทีเรีย

พวกสังเคราะห์แสงได้ เช่น เพอเพิลซัลเฟอร์แบคทีเรีย(purple sulfur bacteria) พวกช่วยตรึงแก๊สไนโตรเจนในอากาศ มาสร้างเป็นสารประกอบไนโตรเจนในดิน ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการเจริญเติบโตของพืช เช่น Rhizobium sp. ในปมรากของพืชตระกูลถั่ว

กลุ่มคลาไมเดีย

เป็นปรสิตในเซลล์สัตว์ทำให้เกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น โรคโกโนเรีย หรือหนองใน เป็นต้น

กลุ่มสไปโรคีท

มีรูปทรงเกลียว ดำรงชีวิตแบบอิสระแต่บางสปีชีส์เป็นสาเหตุของโรคซิฟิลิส หรือโรคฉี่หนู

กลุ่มแบคทีเรียแกรมบวก

Lactobacillus sp.เป็นพวกผลิตกรดแลกติกได้จึงนำมาใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร ได้แก่ การทำเนย ผักดองและโยเกิร์ต; Steptomyces sp.ใช้ทำยาปฏิชีวนะ เช่น ยาสเตร็บโตมัยซิน ยาเตตราไซคลิน เป็นต้น; Bacillus sp.สามารถสร้างเอนโดสปอร์(endospore) ทำให้ทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมได้ดี บางชนิดเป็นสาเหตุทำให้เกิดโรคแอนแทรกซ์

กลุ่มไมโคพลาสมา

เป็นเซลล์ที่ไม่มีผนังเซลล์ มีเพียงเยื่อหุ้มเซลล์ที่ประกอบด้วยชั้นของไขมัน ส่วนใหญ่ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตอื่น แต่มีบางพวกทำให้เกิดโรคปอดบวมในคนและวัว

กลุ่มไซยาโนแบคทีเรีย

สังเคราะห์แสงได้ มี คลอโรฟิลล์เอ, แคโรทีนอยด์ และไฟโคบิลิน นักวิทยาศาสตร์คาดว่าเป็นพวกทำให้ออกซิเจนในบรรยากาศเพิ่มมากขึ้น ก่อให้เกิดวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตที่หายใจโดยใช้ออกซิเจนในปัจจุบัน เช่น แอนาบีนา(Anabaena), นอสตอก(Nostoc) และออสิลลาทอเรีย (Oscillatoria) สามารถตรึงแก๊สไนโตเจนในอากาศ ให้เป็นสารประกอบไนเตรต

ลักษณะรูปร่าง

แบคทีเรียเป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่มีขนาดเล็ก ประมาณ 1 - 5 ไมโครเมตร มีผนังเซลล์เป็นสารประกอบเพปทิโดไกลแคน ภายในเซลลฺไม่มีเยื่อหุ้มสารพันธุกรรม และไม่มีโครงสร้างอื่น มีรูปร่าง 3 แบบ ได้แก่ รูปทรงกลม(coccus), รูปทรงท่อน(bacillus), รูปทรงเกลียว(spirillum)

การดำรงชีวิต

สามารถสร้างอาหารเองได้โดยใช้พลังงานจากแสง (photosynthesis) หรือใช้พลังจากปฏิกิริยาเคมี (chemosynthesis) เช่น ซัลเฟอร์แบคทีเรีย
แต่ส่วนใหญ่สร้างอาหารเองไม่ได้ สามารถอยู่ได้ในสภาพแวดล้อมที่หนาวจัด ร้อนจัด ทะเลมีความเค็มมาก หรือในสภาพที่มีความเป็นกรดสูง

แหล่งข้อมูลอื่น