ไวมาร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไวมาร์
ภาพเมืองไวมาร์
ภาพเมืองไวมาร์
ธงของไวมาร์
ธง
ตราราชการของไวมาร์
ตราอาร์ม
ที่ตั้งของไวมาร์ในรัฐทือริงเงิน
ไวมาร์ ตั้งอยู่ในเยอรมนี
ไวมาร์
ไวมาร์
ไวมาร์ ตั้งอยู่ในรัฐทือริงเงิน
ไวมาร์
ไวมาร์
พิกัด: 50°59′0″N 11°19′0″E / 50.98333°N 11.31667°E / 50.98333; 11.31667พิกัดภูมิศาสตร์: 50°59′0″N 11°19′0″E / 50.98333°N 11.31667°E / 50.98333; 11.31667
ประเทศเยอรมนี
รัฐทือริงเงิน
อำเภอนครนอกอำเภอ
เขตการปกครอง12 อำเภอ
การปกครอง
 • นายกเทศมนตรี (2018–24) Peter Kleine[1] (parteilos)
พื้นที่
 • ทั้งหมด84.48 ตร.กม. (32.62 ตร.ไมล์)
ความสูง208 เมตร (682 ฟุต)
ประชากร
 (2020-12-31)[2]
 • ทั้งหมด65,098 คน
 • ความหนาแน่น770 คน/ตร.กม. (2,000 คน/ตร.ไมล์)
เขตเวลาUTC+01:00 (CET)
 • ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)UTC+02:00 (CEST)
รหัสไปรษณีย์99423, 99425, 99427, 99428
รหัสโทรศัพท์03643, 036453
ทะเบียนพาหนะWE
เว็บไซต์www.weimar.de

ไวมาร์ (เยอรมัน: Weimar เสียงอ่านภาษาเยอรมัน: [ˈvaɪmaʁ]; ละติน: Vimaria หรือ Vinaria) เป็นนครในประเทศเยอรมนี ซึ่งมีชื่อเสียงด้านมรดกทางวัฒนธรรม ตั้งอยู่ในรัฐทือริงเงิน ประชากรปัจจุบันประมาณ 65,000 คน บันทึกเก่าแก่ที่สุดของนครย้อนหลังไปถึง ค.ศ. 899 ไวมาร์เป็นเมืองหลวงของดัชชีซัคเซิน-ไวมาร์

มรดกทางวัฒนธรรมของไวมาร์นั้นกว้างขวาง เป็นที่รู้จักกันมากที่สุดว่า ไวมาร์เป็นที่ซึ่งรัฐธรรมนูญอันเป็นประชาธิปไตยฉบับแรกของเยอรมนีได้รับการลงนามหลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง จึงเป็นที่มาของชื่อสมัยสาธารณรัฐไวมาร์ในการเมืองเยอรมนีช่วง ค.ศ. 1918-1933 อย่างไรก็ดี นครนี้ยังเป็นจุดรวมยุคภูมิธรรมเยอรมนีและบ้านเกิดของบุคคลชั้นนำในแนววรรณกรรมไวมาร์คลาสสิก นักเขียนเกอเทอและชิลเลอร์ มีสถานที่หลายแห่งในใจกลางนครที่เป็นแหล่งมรดกโลกของยูเนสโก

วัฒนธรรม จุดสังเกต และตึกระฟ้า[แก้]

เมืองคลาสสิกไวมาร์ *
  แหล่งมรดกโลกโดยยูเนสโก
ประเทศธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี
ประเภทมรดกทางวัฒนธรรม
เกณฑ์พิจารณาiii, vi
ประวัติการขึ้นทะเบียน
ขึ้นทะเบียน2541 (คณะกรรมการสมัยที่ 22)
* ชื่อตามที่ได้ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก
** ภูมิภาคที่จัดแบ่งโดยยูเนสโก

แหล่งมรดกโลก[แก้]

เมืองไวมาร์มีแหล่งมรดกโลกสองแห่ง:

เมืองพี่น้อง[แก้]

ไวมาร์เป็นเมืองพี่น้องกับเมืองดังนี้:[5]

เมืองมิตรภาพ[แก้]

ไวมาร์ยังมีความสัมพันธ์กับเมืองดังนี้:[6]

อ้างอิง[แก้]

  1. Gewählte Bürgermeister - aktuelle Landesübersicht, Freistaat Thüringen, accessed 13 July 2021.
  2. "Bevölkerung der Gemeinden, erfüllenden Gemeinden und Verwaltungsgemeinschaften in Thüringen Gebietsstand: 31.12.2020". Thüringer Landesamt für Statistik (ภาษาเยอรมัน). June 2021.
  3. UNESCO: Classical Weimar. Retrieved 3 January 2019
  4. UNESCO: Bauhaus and its Sites in Weimar, Dessau and Bernau. Retrieved 3 January 2019
  5. "Partnerstädte". stadt.weimar.de (ภาษาเยอรมัน). Weimar. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-04-20. สืบค้นเมื่อ 2021-02-14.
  6. "City friendships". stadt.weimar.de. Weimar. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-04-19. สืบค้นเมื่อ 2021-02-14.

อ่านเพิ่ม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]