แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติโมโร

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติโมโร (MNLF)
มีส่วนร่วมในความขัดแย้งโมโร
ปฏิบัติการ18 มีนาคม ค.ศ. 1968 – 2 กันยายน ค.ศ. 1996
(ในฐานะกลุ่มแบ่งแยกดินแดน)[1]
2 กันยายน ค.ศ. 1996 – ปัจจุบัน
(ในฐานะองค์กรทางการเมือง)
แนวคิดการปกครองตนเองของโมโร
สมภาคนิยม
ระบอบสหพันธรัฐ[2]
ผู้นำพิพาทตั้งแต่ ค.ศ. 1996
นูร์ มิสวารี (MNLF), Alvarez Isnaji (กลุ่ม Isnaji) และMus Sema (MNLF EC-15)[3]
กองบัญชาการจังหวัดซูลู, ประเทศฟิลิปปินส์
พื้นที่ปฏิบัติการมินดาเนา, ประเทศฟิลิปปินส์
พันธมิตรรัฐพันธมิตร
ฟิลิปปินส์ สาธารณรัฐฟิลิปปินส์

มาเลเซีย รัฐบาลมาเลเซีย
พันธมิตรที่ไม่ใช่รัฐ
MILF (MNLF EC-15)[4]

รัฐสุลต่านซูลู (ฝ่ายจงรักภักดีต่อจามาลุล กีรัมที่ 3) (ฝ่ายมิสวารี)[5]
ปรปักษ์รัฐศัตรู
มาเลเซีย รัฐบาลมาเลเซีย (ฝ่ายมิสวารี)[6][7]

ศัตรูที่ไม่ใช่รัฐ
อัลกออิดะฮ์

รัฐอิสลามอิรักและลิแวนต์ รัฐอิสลาม

MILF (ฝ่ายมิสวารี)[8][9]

กองทัพประชาชนใหม่
เว็บไซต์mnlfnet.com

แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติโมโร (อังกฤษ: Moro National Liberation Front; MNLF; อาหรับ: الجبهة الوطنية لتحرير مورو) เป็นองค์กรทางการเมืองของฟิลิปปินส์ที่ก่อตั้งใน ค.ศ. 1972[3][10] และมีอำนาจในเขตปกครองตนเองมุสลิมในมินดาเนา

ประวัติ[แก้]

ในช่วง พ.ศ. 2513 MNLF จัดตั้งโดย นูร์ มิสวารี เพื่อเรียกร้องเอกราขให้ชาติโมโร การต่อสู้ของกลุ่มนี้เป็นการดึงเอาการต่อสู้อิงแนวทางศาสนาอิสลามเข้ามาในฟิลิปปินส์เป็นกลุ่มแรก มีการเจรจาสันติภาพกับรัฐบาลเมื่อ พ.ศ. 2519 แต่ไม่สำเร็จ การต่อสู้จึงดำเนินต่อไป

MNLF ยังคงต่อสู้เพื่อเอกราชด้วยความรุนแรงจน พ.ศ. 2524 มีการแยกตัวออกเป็นกลุ่มแนวร่วมปลดปล่อยอิสลามโมโร พ.ศ. 2529 MNLF กับรัฐบาลฟิลิปปินส์ได้เจรจาสันติภาพกันสำเร็จ รัฐบาลยอมให้ตั้งเขตปกครองตนเองในบริเวณที่ชาวมุสลิมเป็นชนส่วนใหญ่ บริเวณดังกล่าวคือเขตปกครองตนเองมุสลิมมินดาเนา

อ้างอิง[แก้]

  1. "gov.ph". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-11-10. สืบค้นเมื่อ 2021-11-10.
  2. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-04-03. สืบค้นเมื่อ 2021-11-10.
  3. 3.0 3.1 Daniel Cassman (August 14, 2015). "Moro National Liberation Front". Mapping Militant Organizations – Stanford university.
  4. "MILF, MNLF jointly call on Bangsamoro for unity and solidarity". Relief Web. สืบค้นเมื่อ 17 March 2021.
  5. Teoh El Sen (March 14, 2013). "MNLF supports Sulu claim, says Nur Misuari faction". Astro Awani. สืบค้นเมื่อ June 13, 2014.
  6. "Nur Misuari involved, says Zahid". Bernama. MySinChew English. July 16, 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ July 16, 2014. สืบค้นเมื่อ July 16, 2014.
  7. "Press Statement: Meeting with the Secretary of Foreign Affairs of the Philippines, H.E. Albert F. del Rosario on 4 March 2013". Ministry of Foreign Affairs, Malaysia. March 5, 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ March 8, 2013. สืบค้นเมื่อ March 7, 2013.
  8. Edwin O. Fernandez (March 20, 2013). "Misuari hit for claiming Malaysia used MILF to bolster claim on Sabah". Philippine News Agency. Interaksyon. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 25, 2015. สืบค้นเมื่อ October 25, 2015.
  9. Ruth Cabal (November 8, 2016). "EXCLUSIVE: MILF 'traitors' and 'criminals' – Misuari". CNN Philippines. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-11-08. สืบค้นเมื่อ November 9, 2016.
  10. "Focus on the Philippines". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ March 5, 2016. สืบค้นเมื่อ January 26, 2015.

อ่านเพิ่ม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]