เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
หน้าตัดของเอพิดิไดมิส จะเห็นว่าเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (สีฟ้า) ทำหน้าที่ค้ำจุนเนื้อเยื่อบุผิว (สีม่วง)
ตัวระบุ
MeSHD003238
FMA96404
อภิธานศัพท์กายวิภาคศาสตร์

เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (อังกฤษ: Connective tissue) เป็นหนึ่งในเนื้อเยื่อสัตว์พื้นฐานสี่อย่าง (อันได้แก่ เนื้อเยื่อบุผิว เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ และเนื้อเยื่อประสาท) เนื้อเยื่อนี้มีลักษณะสำคัญร่วมกันคือ

  • มีหน้าที่เกี่ยวกับการค้ำจุนและรักษาโครงสร้าง
  • มักจะพัฒนามาจากเมโซเดิร์ม
  • แบ่งประเภทตามลักษณะของเนื้อเยื่อที่ไม่มีชีวิต

เลือด กระดูกอ่อน และกระดูก จัดเป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน แต่เนื่องจากเนื้อเยื่อเหล่านี้มีลักษณะแตกต่างไปจากเนื้อเยื่อเกี่ยวพันอื่น ๆ ใน เราจึงเรียกเนื้อเยื่อเกี่ยวพันอื่น ๆ ที่ไม่ใช่เนื้อเยื่อสามประเภทนี้ว่า "เนื้อเยื่อเกี่ยวพันทั่วไป (connective tissue proper) " ในบางครั้งเราอาจแยกเนื้อเยื่อเกี่ยวพันตัวอ่อน (embryonic connective tissue) ออกเป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันประเภทที่สาม

การแบ่งประเภทของเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน[แก้]

เนื้อเยื่อเกี่ยวพันทั่วไป (Connective tissue proper)[แก้]

เนื้อเยื่อเกี่ยวพันทั่วไป (Connective tissue proper)

เนื้อเยื่อเกี่ยวพันพิเศษ (Specialized connective tissues)[แก้]

เนื้อเยื่อเกี่ยวพันพิเศษ (Specialized connective tissues)

เนื้อเยื่อเกี่ยวพันตัวอ่อน (Embryonic connective tissues)[แก้]

ชนิดของเส้นใย[แก้]

ในเนื้อเยื่อเกี่ยวพันพบเส้นใยต่างๆ ดังนี้

ดูเพิ่ม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

อ้างอิง[แก้]