ห้าวันที่มิลาน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ห้าวันที่มิลาน
ส่วนหนึ่งของ สงครามประกาศอิสรภาพอิตาลีที่ 1

The Five Days of Milan โดยการ์โล บอสโซลี
วันที่18–22 มีนาคม ค.ศ. 1848
สถานที่
ผล ชาวมิลานชนะ[1]
ราเด็ตซกีย์หนีออกจากมิลาน[3]
คู่สงคราม
กบฏชาวมิลาน[1] จักรวรรดิออสเตรีย[2]
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
การ์โล กัตตาเนโอ
เคานต์ลุยจี โตเรลลี
เอากุสโต อันฟอซซี 
ลูซีอาโน มานารา
[3][4][5][6]
โยแซ็ฟ ราเด็ตซกีย์ ฟ็อน ราเดตซ์
ลุดวิก ฟ็อน โวฮ์ลเกอมุธ
Eduard Clam-Gallas
เคานต์ Ferencz Gyulai
[7][8][9][10]
กำลัง
สิ่งกีดขวาง 1,700 อัน[11]
อาวุธของชาวมิลาน:
ปืน 600–650 กระบอก[11][12]
หิน, ขวด, กระบอง,
หอก และดาบ[12]
กองทหารรักษาการณ์
12,000–13,000 นาย[8][13]
ความสูญเสีย
ถูกฆ่า 409–424 คน[4][7]
(รวมผู้หญิงและเด็ก 43 คน)
บาดเจ็บมากกว่า 600 คน[7]
ถูกฆ่า 181 นาย[14]
(รวมเจ้าหน้าที่ 5 นาย)
บาดเจ็บ 235 นาย[7]
(รวมเจ้าหน้าที่ 4 นาย)
ถูกจับ 150–180 นาย[14]
รัฐบาลเฉพาะกาลมิลาน

Governo provvisorio di Milano (ในภาษาอิตาลี)
ค.ศ. 1848–ค.ศ. 1848
สถานะรัฐเมือง
เมืองหลวงมิลาน
ภาษาทั่วไปอิตาลี, ลอมบาร์ด
การปกครองสาธารณรัฐ
ประธานาธิบดี 
ยุคประวัติศาสตร์การปฏิวัติ ค.ศ. 1848
9 มิถุนายน ค.ศ. 1815
• การจลาจลต่อการปกครองของราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค
18 มีนาคม ค.ศ. 1848
• ราเด็ตซกีย์ถอนทัพจากกัวดรีลาเตโร (Quadrilatero)
22 มีนาคม ค.ศ. 1848
24 มิถุนายน ค.ศ. 1859
ก่อนหน้า
ถัดไป
ราชอาณาจักรลอมบาร์เดีย-เวนิส
ราชอาณาจักรซาร์ดีเนีย

ห้าวันที่มิลาน (อังกฤษ: Five Days of Milan; อิตาลี: Cinque giornate di Milano, [ˈtʃiŋkwe dʒorˈnaːte di miˈlaːno]) เป็นการจลาจลและเหตุการณ์สำคัญในการปฏิวัติ ค.ศ. 1848 ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของสงครามประกาศอิสรภาพอิตาลีที่ 1 ในวันที่ 18 มีนาคม มีกบฎเติบโตขึ้นในเมืองมิลาน และหลังสู้รบบนถนนเป็นเวลา 5 วัน ทำให้จอมพลราเด็ตสกีย์กับทหารออสเตรียต้องถอนทัพออกจากเมืองไป

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 Grenville, John Ashley Soames (2000). Europe reshaped, 1848–1878. Oxford.
  2. Berkeley, George F.-H. (1940). Italy in the Making January 1st 1848 to November 16th 1848. Cambridge.
  3. 3.0 3.1 Stillman, William James (1898). The union of Italy, 1815–1895. Cambridge.
  4. 4.0 4.1 Ginsborg, Paul (1979). Daniele Manin and the Venetian revolution of 1848–49. Bristol.
  5. Maurice, Charles Edmund (1887). The revolutionary movement of 1848–9 in Italy, Austria Hungary, and Germany. New York.
  6. American Bibliographical Center (1991). Historical abstracts: Volume 42, Issues 3–4. Santa Barbara.
  7. 7.0 7.1 7.2 7.3 Rüstow, Wilhelm (1862). Der italienische Krieg von 1848 und 1849. Zürich.
  8. 8.0 8.1 Whyte, Arthur James Beresford (1975). The political life and letters of Cavour, 1848–1861. Santa Barbara.
  9. Svoboda, Johann (1870). Die Zöglinge der Wiener-Neustädter Militär-Akademie. Wien.
  10. de Marguerittes, Julie (1859). Italy and the War of 1859. Philadelphia.
  11. 11.0 11.1 Chapman, Tim (2008). The risorgimento: Italy 1815–71. Penrith.
  12. 12.0 12.1 Stearns, Peter N. (1974). 1848: the revolutionary tide in Europe. New York.
  13. Whittam, John (1977). Politics of the Italian Army, 1861–1918. London.
  14. 14.0 14.1 Wilhelm Meyer-Ott, Wilhelm Rüstow (1850). Die Kriegerischen Ereignisse in Italien in den Jahren 1848 und 1849. Zürich.

บรรณานุกรม[แก้]

ในภาษาอิตาลี[แก้]

  • (ในภาษาอิตาลี) Piero Pieri, Storia militare del Risorgimento – volume 1 & 2, Einaudi, Torino, 1962
  • (ในภาษาอิตาลี) Carlo Cattaneo, Dell'insurrezione di Milano nel 1848 e della successiva guerra, e-text Liber liber/Progetto Manuzio
  • (ในภาษาอิตาลี) Antonio Scurati, Una storia romantica, romanzo Bompiani, 2007
  • (ในภาษาอิตาลี) Elena Fontanella, a cura di, Giovani ribelli del '48. Memorie del Risorgimento lombardo , Firenze, Fratelli Alinari, 2011. ISBN 978-88-95849-14-0. Testi di Aldo A. Mola, Giancarlo Lacchin, Roberto Lauro, Maurizio Griffo, Agostino Giovagnoli, Cecilia Dau Novelli, Romano Bracalini, Carlo Cattaneo, Gianni Oliva, Emanuele Bettini, Matteo Sanfilippo, Giuseppe Poletta, Franco Della Peruta, Fulvio Peirone, Gabriella Bonacchi, Anna Maria Isastia, Elena Fontanella, Andrea Vento, Vittorio Nichilo, Giorgio Cosmacini, Roberto Guerri, Lucia Romaniello, Giuseppe Garibaldi, Gian Paolo Caprettini, Gian Mario Benzing, Roberto Cassanelli.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]