ห้องสอบสวนด่วนพิเศษ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ห้องสอบสวนด่วนพิเศษ
ญี่ปุ่น緊急取調室
เฮปเบิร์นKinkyū Torishirabe Shitsu
ประเภทกฎหมาย
บทโดย
  • อิโนอูเอะ ยูมิโกะ
  • ฟูกูชิมะ ฮารูโกะ
  • โคซากะ ทากาชิ
กำกับโดย
  • สึเนฮิโระ โจตะ
  • โมโตฮาชิ เคตะ
  • ยามาโมโตะ ไดซูเกะ
แสดงนำ
  • ยูกิ อามามิ
  • เท็ตสึชิ ทานากะ
  • เด็นเด็ง
  • ฟูมิโยะ โคฮินาตะ
  • เร็น โอซูกิ
  • มูกะ สึกาจิ
ดนตรีแก่นเรื่องปิด
ผู้ประพันธ์เพลงฮายาชิ ยูกิ
ประเทศแหล่งกำเนิดประเทศญี่ปุ่น
ภาษาต้นฉบับภาษาญี่ปุ่น
จำนวนฤดูกาล4 ฤดูกาล
จำนวนตอน37 ตอน + 1 ตอนพิเศษ
การผลิต
ผู้อำนวยการสร้าง
  • มิวะ ยูมิโกะ
  • สึซูกิ อายูมุ
  • อูราอิ ทากายูกิ
  • ซากูราอิ มิเอโกะ
  • มัตสึโนะ ชิซูโกะ
  • จิมบะ ยูกิ
  • ซัมมะ ริโอะ
ความยาวตอน54 นาที
ออกอากาศ
ออกอากาศ9 มกราคม ค.ศ. 2014 (2014-01-09) –
16 กันยายน ค.ศ. 2021 (2021-09-16)

ห้องสอบสวนด่วนพิเศษ (ญี่ปุ่น: 緊急取調室โรมาจิKinkyū Torishirabe Shitsu; อังกฤษ: Emergency Interrogation Room) เป็นละครโทรทัศน์ญี่ปุ่นประเภทสืบสวน ที่ออกอากาศตั้งแต่เดือนมกราคม ค.ศ. 2014 จนถึง กันยายน ค.ศ. 2021 ทางสถานีโทรทัศน์ทีวีอาซาฮิ และบนเพลตฟอร์มเน็ตฟลิกซ์ นำแสดงโดย ยูกิ อามามิ

เรื่องย่อ[แก้]

กรมตำรวจนครบาลโตเกียวได้ติดตั้ง|กล้องวงจรปิดภายในห้องสอบสวนหวังลดการใช้กำลังขู่เข็ญและเค้นให้บังคับสารภาพที่มักเกิดขึ้นได้บ่อย จึงมีการก่อตั้งทีมสอบสวนพิเศษสำหรับการสอบสวนเฉพาะกิจเพื่อไขคดีสุดหินขึ้นโดยเฉพาะ

นักแสดง[แก้]

ตัวละครหลัก[แก้]

  • ยูกิ อามามิ แสดงเป็น ยูกิโกะ มากาเบะ[1]
  • เท็ตสึชิ ทานากะ แสดงเป็น คัตสึโตชิ คาจิยามะ
  • เด็นเด็ง แสดงเป็น ซูซูมุ ฮิชิโมโตะ[2]
  • ฟูมิโยะ โคฮินาตะ แสดงเป็น ฮารูโอะ โคอิชิกาวะ[2]
  • เร็น โอซูกิ แสดงเป็น เซ็นจิโระ นากาตะ[2]
  • มูกะ สึกาจิ แสดงเป็น มัตสึโอะ ทามากากิ[3]

ตัวละครสมทบ[แก้]

  • โมโกมิจิ ฮายามิ แสดงเป็น ไดจิโระ เค็นมตสึ][4]
  • โคซูเกะ ซูซูกิ แสดงเป็น วาตานาเบะ เท็ตสึจิ[4]
  • มาซาโอะ คูซาการิ แสดงเป็น มาซานาโอะ โกฮาระ
  • โอกูระ โคจิ แสดงเป็น คาซูฮิซะ อิวากิ
  • เออิซูเกะ ซาซาอิ แสดงเป็น คาซูนาริ โซมะ
  • นารูชิ อิเกดะ แสดงเป็น ทาเกรุ โฮโกโตะ
  • อาซูกะ คูโด แสดงเป็น โยชิฮารุ ยามางามิ[5]

เหตุการณ์ที่เกี่ยวข้อง[แก้]

ในการพิจารณาของศาล มักมีเหตุการณ์การถกเถียงอยู่บ่อยครั้งว่าผู้ต้องสงสัยถูกเจ้าหน้าที่ตำรวจหรืออัยการบังคับให้เขียนหรือเพิ่มเติมส่วนใดส่วนหนึ่งของคำรับสารภาพ[6] ด้วยเหตุนี้ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาฉบับแก้ไขปี ค.ศ. 2016 ได้บัญญัติไว้ว่าภายในเดือนมิถุนายน ปี ค.ศ. 2019 ทุกคดีที่ต้องพิจารณาโดยคณะลูกขุนและอัยการต้องคงไว้ซึ่งความโปร่งใสในการสอบสวนด้วยการบันทึกวีดิโอหรือเสียง[6][7][8]

อ้างอิง[แก้]

  1. 天海祐希 (2017-04-16). "天海祐希、ストレスは寝て解消!? 「1週間でも家に引きこもっていられる」" (Interview). สัมภาษณ์โดย 今泉. สืบค้นเมื่อ 2017-04-20.
  2. 2.0 2.1 2.2 小日向文世、大杉漣、でんでん] (2015-09-21). "小日向文世×大杉漣×でんでん"緊急座談室"パート1" (Interview). สืบค้นเมื่อ 2016-09-02.
  3. 塚地武雅 (2019-04-18). "塚地武雅、相方・鈴木拓の「家庭を"マル裸"にしたい!」〈緊急取調室〉" (Interview). สืบค้นเมื่อ 2019-09-08.
  4. 4.0 4.1 速水もこみち, 鈴木浩介 (2019-04-25). "速水もこみち×鈴木浩介対談「普段から"マル裸"でお付き合いしています」〈緊急取調室〉" (Interview). สืบค้นเมื่อ 2019-09-08.
  5. "池田成志&工藤阿須加、天海祐希主演『キントリ』シーズン4から加入「すぐに現場が好きに」". ORICON NEWS. oricon ME. 2021-06-10. สืบค้นเมื่อ 2021-07-11.
  6. 6.0 6.1 Japan: 2016 Criminal Justice System Reform www.stuff.coffeecode.net (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2021-10-20.
  7. "日本弁護士連合会:Reform of the Criminal Justice System". www.nichibenren.or.jp (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2021-10-20.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  8. White Paper on Crime 2019 - Criminal Justice Policy During the Heisei Era - www.moj.go.jp (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2021-10-20.