ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2522

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2522
แผนที่สรุปฤดูกาล
ขอบเขตฤดูกาล
ระบบแรกก่อตัว31 ธันวาคม พ.ศ. 2521
ระบบสุดท้ายสลายตัว23 ธันวาคม พ.ศ. 2522
พายุมีกำลังมากที่สุด
ชื่อทิป
 • ลมแรงสูงสุด260 กม./ชม. (160 ไมล์/ชม.)
(เฉลี่ย 10 นาที)
 • ความกดอากาศต่ำที่สุด870 hPa (มิลลิบาร์)
สถิติฤดูกาล
พายุดีเปรสชันทั้งหมด54 ลูก
พายุโซนร้อนทั้งหมด24 ลูก
พายุไต้ฝุ่น12 ลูก
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น4 ลูก (ไม่เป็นทางการ)
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด541 คน
ความเสียหายทั้งหมด2.24 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
(ค่าเงิน USD ปี 1979)
ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก
2520, 2521, 2522, 2523, 2524

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2522 เป็นฤดูกาลที่ไม่การกำหนดขอบเขตอย่างเป็นทางการ โดยดำเนินอยู่ภายในปี พ.ศ. 2522 แต่พายุหมุนเขตร้อนส่วนใหญ่มีแนวโน้มก่อตัวขึ้นภายในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ ระหว่างเดือนมิถุนายนถึงเดือนตุลาคม วันเหล่านี้ถือเป็นธรรมเนียมในการกำหนดขอบเขตของแต่ละฤดูกาล เมื่อพายุหมุนเขตร้อนก่อตัวขึ้นภายในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ

ขอบเขตของบทความนี้จำกัดเฉพาะบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกที่อยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร ทางฝั่งตะวันตกของเส้นแบ่งเขตวันสากล ส่วนพายุใดที่ก่อตัวขึ้นทางฝั่งตะวันออกของเส้นดังกล่าวจะเรียกว่า พายุเฮอร์ริเคน (ดูที่ ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2522) ในช่วงเวลานี้ พายุใดที่ทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุโซนร้อนในมหาสมุทรตะวันตกจะได้รับชื่อจากศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม ส่วนพายุดีเปรสชันเขตร้อนใดที่ก่อตัวขึ้นในแอ่งนี้จะได้รับการกำหนดหมายเลขและเติมตัวอักษร "W" ต่อท้ายเป็นรหัสเรียก ส่วนพายุดีเปรสชันเขตร้อนลูกใดที่ก่อตัวขึ้นหรือเคลื่อนตัวเข้าไปภายในพื้นที่รับผิดชอบของฟิลิปปินส์ พายุลูกนั้นจะได้รับชื่อจากสำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ หรือ PAGASA ด้วย ด้วยเหตุนี้พายุเพียงหนึ่งลูก อาจมีชื่อถึงสองชื่อก็ได้

ภาพรวมฤดูกาล[แก้]

มาตราพายุหมุนเขตร้อนในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก (คณะกรรมการไต้ฝุ่น)
  พายุดีเปรสชัน (≤61 กม./ชม.)   พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (118–156 กม./ชม.)
  พายุโซนร้อน (62–88 กม./ชม.)   พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (157–193 กม./ชม.)
  พายุโซนร้อนกำลังแรง (89–117 กม./ชม.)   พายุไต้ฝุ่นรุนแรง (≥194 กม./ชม.)

พายุ[แก้]

พายุไต้ฝุ่นอลิซ[แก้]

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS)
ระยะเวลา 31 ธันวาคม 2521 – 15 มกราคม 2522
ความรุนแรง 175 กม./ชม. (110 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
930 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.46 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นเบส[แก้]

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา 19 – 25 มีนาคม
ความรุนแรง 130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
955 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.2 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: เอาริง

พายุไต้ฝุ่นซีซิล[แก้]

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 10 – 20 เมษายน
ความรุนแรง 140 กม./ชม. (85 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
965 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.5 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: เบเบง

พายุโซนร้อนดอต[แก้]

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 9 – 17 พฤษภาคม
ความรุนแรง 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.09 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: การิง

พายุโซนร้อน 05W[แก้]

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 17 – 24 พฤษภาคม
ความรุนแรง 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
992 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.29 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: ดีดิง

พายุไต้ฝุ่นเอลลิส[แก้]

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา 29 มิถุนายน – 7
ความรุนแรง 140 กม./ชม. (85 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
955 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.2 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: เอตัง

พายุโซนร้อนกำลังแรงเฟย์[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 1 – 9 กรกฎาคม
ความรุนแรง 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: เกนิง

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 08W[แก้]

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 23 – 27 กรกฎาคม
ความรุนแรง 35 กม./ชม. (25 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
1005 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.68 นิ้วปรอท)

พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นโฮป[แก้]

พายุไต้ฝุ่นรุนแรง (JMA)
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 24 กรกฎาคม – 8 สิงหาคม
ความรุนแรง 205 กม./ชม. (125 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
900 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 26.58 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: อิซิง

พายุโซนร้อนกำลังแรงกอร์ดอน[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 25 – 31 กรกฎาคม
ความรุนแรง 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
975 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.79 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: เฮอร์มิง

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 11W[แก้]

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (PAGASA)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 2 – 7 สิงหาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
998 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.47 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: ลูดิง

พายุไต้ฝุ่นเออร์วิง[แก้]

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา 7 – 18 สิงหาคม
ความรุนแรง 150 กม./ชม. (90 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
955 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.2 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: มาเมง

พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นจูดี[แก้]

พายุไต้ฝุ่นรุนแรง (JMA)
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 16 – 26 สิงหาคม
ความรุนแรง 205 กม./ชม. (125 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
910 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 26.87 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: เนเนง

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 14W[แก้]

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 18 – 20 สิงหาคม
ความรุนแรง 35 กม./ชม. (25 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
1005 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.68 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนเคน[แก้]

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 30 สิงหาคม – 4 กันยายน
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: โอเนียง

พายุไต้ฝุ่นโลลา[แก้]

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา 1 – 8 กันยายน
ความรุนแรง 150 กม./ชม. (90 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
950 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.05 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรงแมก[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 12 – 24 กันยายน
ความรุนแรง 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.09 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: เปปัง

พายุโซนร้อนแนนซี[แก้]

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 17 – 22 กันยายน
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
992 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.29 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นโอเวน[แก้]

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS)
ระยะเวลา 22 กันยายน – 1 ตุลาคม
ความรุนแรง 165 กม./ชม. (105 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
920 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.17 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: โรซิง

พายุโซนร้อนแพเมลา[แก้]

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
Counterclockwise vortex
ระยะเวลา 23 – 26 กันยายน
ความรุนแรง 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
995 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.38 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นซาราห์[แก้]

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS)
ระยะเวลา 1 – 17 ตุลาคม
ความรุนแรง 165 กม./ชม. (105 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
930 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.46 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: ตรีนิง-อูริง

พายุโซนร้อนโรเจอร์[แก้]

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
Counterclockwise vortex
ระยะเวลา 3 – 7 ตุลาคม
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.09 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: ซีซัง

พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นทิป[แก้]

พายุไต้ฝุ่นรุนแรง (JMA)
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5 (SSHWS)
ระยะเวลา 4 – 19 ตุลาคม
ความรุนแรง 260 กม./ชม. (160 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
870 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 25.69 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: วาร์ลิง

พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นเวรา[แก้]

พายุไต้ฝุ่นรุนแรง (JMA)
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5 (SSHWS)
ระยะเวลา 2 – 7 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 205 กม./ชม. (125 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
915 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.02 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: ยายัง

พายุโซนร้อนกำลังแรงเวย์น[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 7 – 13 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: อาดิง

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 26W[แก้]

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 1 – 2 ธันวาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
1000 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.53 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นแอบบี[แก้]

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS)
ระยะเวลา 1 – 14 ธันวาคม
ความรุนแรง 165 กม./ชม. (105 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
950 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.05 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: บารัง

พายุโซนร้อนเบน[แก้]

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 20 – 23 ธันวาคม
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
994 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.35 นิ้วปรอท)
ชื่อของ PAGASA: กรีซิง

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]