ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตกเฉียงใต้ พ.ศ. 2555–2556

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตกเฉียงใต้ พ.ศ. 2555–2556
แผนที่สรุปฤดูกาล
ขอบเขตฤดูกาล
ระบบแรกก่อตัว12 ตุลาคม พ.ศ. 2555
ระบบสุดท้ายสลายตัว11 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
พายุมีกำลังมากที่สุด
ชื่อเอเนส (Anais)
 • ลมแรงสูงสุด185 กม./ชม. (115 ไมล์/ชม.)
(เฉลี่ย 10 นาที)
 • ความกดอากาศต่ำที่สุด949 hPa (มิลลิบาร์)
สถิติฤดูกาล
ความแปรปรวนทั้งหมด11 ลูก
พายุดีเปรสชันทั้งหมด10 ลูก
พายุโซนร้อนทั้งหมด10 ลูก
พายุไซโคลนเขตร้อน7 ลูก
พายุไซโคลนรุนแรง3 ลูก
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด35 คน (สูญหาย 16 คน)
ความเสียหายทั้งหมดไม่ทราบ
Related articles
ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตก–ใต้
2553–54, 2554–55, 2555–56 2556–57

ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตกเฉียงใต้ พ.ศ. 2555-2556 เป็นฤดูกาลในอีตที่เคยมีการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อนในมหาสมุทรอินเดียตะวันตกเฉียงใต้ ฤดูกาลดังกล่าวจะลากยาวตลอด พ.ศ. 2555 ถึง พ.ศ. 2556 โดยเริ่มนับตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 จนไปสิ้นสุดลงในวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2556 โดยมีข้อยกเว้นในแถบมอริเชียสและเซเชลส์ ซึ่งจะส้นสุดในวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 พายุในเขตนี้จะมีขอบเขตอยู่ทางตะวันตกของเส้น 90°E และทางใต้ของเส้นศูนย์สูตร โดยการติดตามของศูนย์อุตุนิยมวิทยาภูมิภาค (Regional Specialized Meteorological Center) ในเรอูว์นียง พายุลูกแรกที่ก่อตัวในแอ่งนี้คือ เอเนส ที่ก่อตัวเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม ก่อนที่จะเริ่มฤดูกาลอย่างเป็นทางการกว่าสองสัปดาห์ ซึ่ง เอเนส ทวีความรุนแรงเป็นถึง ระดับ 3 ตามสเกลเฮอร์ริเคนของแซฟเฟอร์-ซิมป์สัน นับเป็นพายุหมุนเขตร้อนที่รุนแรงที่สุดที่เคยก่อตัวขึ้นในมหาสมุทรอินเดียตะวันตกเฉียงใต้

เส้นเวลา[แก้]

Tropical cyclone scales#Comparisons across basins


หย่อมความกดอากาศต่ำแรกของฤดูกาลก่อตัวเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม และค่อย ๆ ทวีกำลังแรงขึ้นจนกลายเป็นพายุหมุนเขตร้อนที่รุนแรงที่สุดเท่าที่เคยบันทึกได้ เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม[1]

พายุ[แก้]

ไซโคลนเขตร้อนรุนแรงเอเนส[แก้]

พายุไซโคลนเขตร้อนรุนแรง (MFR)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 3 (SSHWS)
ระยะเวลา 12 ตุลาคม – 19 ตุลาคม
ความรุนแรง 185 กม./ชม. (115 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
949 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.02 นิ้วปรอท)

หย่อมความกดอากาศ 02[แก้]

หย่อมความกดอากาศต่ำ (MFR)
ระยะเวลา 15 พฤศจิกายน – 16 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1004 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.65 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรงโบล์ดวิน[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังแรง (MFR)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 23 พฤศจิกายน – 26 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
987 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.15 นิ้วปรอท)

ไซโคลนเขตร้อนรุนแรงคลัวเดีย[แก้]

พายุไซโคลนเขตร้อนรุนแรง (MFR)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 6 ธันวาคม – ปัจจุบัน
ความรุนแรง 165 กม./ชม. (105 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
950 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.05 นิ้วปรอท)

ไซโคลนเขตร้อนดูไมล์[แก้]

พายุไซโคลนเขตร้อน (MFR)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 29 ธันวาคม – 5 มกราคม
ความรุนแรง 130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
968 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.59 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังปานกลางอีแมง[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังปานกลาง (MFR)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 12 – 17 มกราคม
ความรุนแรง 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
996 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.41 นิ้วปรอท)

พายุไซโคลนเขตร้อนรุนแรงเฟลเลียง[แก้]

พายุไซโคลนเขตร้อนรุนแรง (MFR)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 26 มกราคม – 3 กุมภาพันธ์
ความรุนแรง 165 กม./ชม. (105 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
950 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.05 นิ้วปรอท)

พายุไซโคลนเขตร้อนจีโน[แก้]

พายุไซโคลนเขตร้อน (MFR)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา 11 – 15 กุมภาพันธ์
ความรุนแรง 140 กม./ชม. (85 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
960 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.35 นิ้วปรอท)

พายุไซโคลนเขตร้อนฮารูนา[แก้]

พายุไซโคลนเขตร้อน (MFR)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 3 (SSHWS)
ระยะเวลา 18 – 25 กุมภาพันธ์
ความรุนแรง 150 กม./ชม. (90 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
965 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.5 นิ้วปรอท)

พายุไซโคลนเขตร้อนไอเมลดา[แก้]

พายุไซโคลนเขตร้อน (MFR)
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา 5 – 16 เมษายน
ความรุนแรง 140 กม./ชม. (85 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
966 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.53 นิ้วปรอท)

พายุไซโคลนเขตร้อนกำลังปานกลางจามาลา[แก้]

พายุโซนร้อนกำลังปานกลาง (MFR)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 9 – 11 พฤษภาคม
ความรุนแรง 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
995 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.38 นิ้วปรอท)

รายชื่อพายุที่เกิดขึ้น[แก้]

ภายในทิศตะวันตกเฉียงใต้ของมหาสมุทรอินเดีย ดีเปรสชันเขตร้อนและกึ่งดีเปรสชันเขตร้อน ที่มีความเร็วลมรอบศูนย์กลางเฉลี่ย 10 นาที 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภูมิภาคในเกาะเรอูว์นียง, ประเทศฝรั่งเศส (RSMC เรอูว์นียง) จะเป็นผู้กำหนดชื่อพายุ อย่างไรก็ตาม ศูนย์ย่อยภูมิภาคพายุหมุนเขตร้อนในมอริเชียสและมาดากัสการ์จะกำหนดชื่อ เมื่อระบบเป็นพายุโซนร้อนระหว่าง 55°ตะวันออก และ 90°ตะวันออก ถ้าพายุโซนร้อนระหว่าง 30°ตะวันออก และ 55°ตะวันออกแล้ว ศูนย์ย่อยจะกำหนดชื่อที่เหมาะสมของพายุ โดยรายชื่อใหม่จะใช้เป็นประจำทุกปีในขณะที่ชื่อปกติจะใช้เพียงครั้งเดียวจึงไม่มีการปลดชื่อออก[3] และเป็นครั้งแรกที่พายุไซโคลนเขตร้อนเคลื่อนตัวเข้ามาในภูมิภาคออสเตรเลีย จะไม่เปลี่ยนชื่อที่ตั้งโดยศูนย์ย่อยภูมิภาคพายุหมุนเขตร้อนในมอริเชียสและมาดากัสการ์[3]

  • เอเนส
  • โบล์ดวิน
  • คลัวเดีย
  • ดูไมล์
  • อีแมง
  • เฟลเลียง
  • จีโน
  • ฮารูนา
  • อีเมลดา
  • จามาลา
  • คาเชย์ (ยังไม่ใช้)
  • ลูเซียโน (ยังไม่ใช้)
  • มาเรียม (ยังไม่ใช้)
  • ฮาซี (ยังไม่ใช้)
  • โอเนียส (ยังไม่ใช้)
  • เปลากี (ยังไม่ใช้)
  • คูยลิโร (ยังไม่ใช้)
  • ริชาร์ด (ยังไม่ใช้)
  • โซลานี (ยังไม่ใช้)
  • ทามิม (ยังไม่ใช้)
  • ยูริเลีย (ยังไม่ใช้)
  • วูยาเน (ยังไม่ใช้)
  • วักเนอร์ (ยังไม่ใช้)
  • ซูซา (ยังไม่ใช้)
  • ยาโรนา (ยังไม่ใช้)
  • ซาคาเรียส (ยังไม่ใช้)

ผลกระทบ[แก้]

ตารางนี้แสดงรายการพายุทั้งหมดที่เกิดขึ้นทางตะวันตกเฉียงใต้ของมหาสมุทรอินเดีย ในช่วงปี พ.ศ. 2555-2556 ซึ่งจะระบุชื่อของพายุ, วันที่พายุเริ่มก่อตัว, ความรุนแรง, ข้อมูลพื้นฐานของพายุ, พื้นที่ได้รับผลกระทบ และความเสียหายที่เกิดจากพายุ โดยตัวเลขที่แสดงความเสียหายจะถูกระบุเป็นค่าเงินดอลลาร์สหรัฐ ปี ค.ศ. 2012 และความเสียหาย การสูญเสียจากพายุ จะนับตั้งแต่พายุเริ่มรวมตัวจนถึงพายุถึงความรุนแรงสูงสุด

ชื่อพายุ วันที่เกิด ระดับของพายุ ลมเฉลี่ย
สูงสุด 10 นาที
ความกดอากาศ
เฮกโตปาสกาล (hPa)
พื้นที่ได้รับผลกระทบ ความเสียหาย เสียชีวิต อ้างอิง
เอเนส 12 – 19 ตุลาคม ไซโคลนเขตร้อนรุนแรง 185 กม./ชม. (115 ไมล์/ชม.) 949 hPa (28.03 นิ้วปรอท) ดีเอโก การ์เซีย, มาดากัสการ์ ไม่มี ไม่มี
02 15 – 16 พฤศจิกายน หย่อมความกดอากาศต่ำ 45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) 1004 hPa (29.65 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
โบล์ดวิน 23 – 26 พฤศจิกายน พายุโซนร้อนกำลังแรง 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) 988 hPa (29.18 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
คลัวเดีย 6 – 13 ธันวาคม ไซโคลนเขตร้อนรุนแรง 165 กม./ชม. (105 ไมล์/ชม.) 950 hPa (28.05 นิ้วปรอท) ไม่มี ไม่มี ไม่มี
ดูไมล์ 29 ธันวาคม – ปัจจุบัน ไซโคลนเขตร้อน 130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) 968 hPa (28.59 นิ้วปรอท) เรอูว์นียง ไม่มี ไม่มี
สรุปฤดูกาล
ดีเปรสชันทั้งหมด: 5 ลูก 12 ตุลาคม – 11 พฤษภาคม 185 กม./ชม. (155 ไมล์/ชม.) 949 hPa (28.02 นิ้วปรอท) 0.00ดอลลาร์สหรัฐ ไม่มี

อ้างอิง[แก้]

  1. RSMC La Réunion (October 14, 2012). "RSMC La Réunion Technical Bulletin October 14, 2012 1200 UTC". Météo France. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-09-23. สืบค้นเมื่อ October 14, 2012.
  2. "JTWC Tropical Cyclone Formation Alert on October 12, 2012". Joint Typhoon Warning Center. 12 October 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-09-20. สืบค้นเมื่อ 13 October 2012.
  3. 3.0 3.1 Regional Association I Tropical Cyclone Committee (2010). "Tropical Cyclone Operational Plan for the South-West Indian Ocean" (PDF). World Meteorological Organization. สืบค้นเมื่อ 2012-06-07.