รถถังพิฆาต เอ็ม36

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
90 mm Gun Motor Carriage M36
ชนิดรถถังพิฆาต
แหล่งกำเนิดสหรัฐอเมริกา
บทบาท
สงครามสงครามโลกครั้งที่สอง
สงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่ง
สงครามเกาหลี
สงครามอินเดีย-ปากีสถาน ปี ค.ศ. 1965
สงครามอินเดีย-ปากีสถาน ปี ค.ศ. 1971
สงครามอิรัก-อิหร่าน
สงครามยูโกสลาเวีย
ประวัติการผลิต
ผู้ออกแบบU.S. Army Ordnance Department
ช่วงการออกแบบ1943
บริษัทผู้ผลิตGeneral Motors
Massey-Harris
American Locomotive Company
Montreal Locomotive Works
มูลค่า$51,290 (M36)
ช่วงการผลิตApril–August 1944
October–December 1944
May 1945
จำนวนที่ผลิต2,324 (all models)
แบบอื่นSee Variants
ข้อมูลจำเพาะ (90 mm Gun Motor Carriage M36[1])
มวล63,000 lb (28.6 metric tons)
ความยาว19 ft 7 in (5.97 m) hull
24 ft 6 in (7.47 m) including gun
ความกว้าง10 ft 0 in (3.05 m)
ความสูง10 ft 9 in (3.28 m) over antiaircraft machine gun
ลูกเรือ5 (Commander, gunner, loader, driver, assistant driver)

เกราะ0.375 to 5 in (9.5 to 127 mm)
อาวุธหลัก
90 mm gun M3
47 rounds
อาวุธรอง
.50 caliber (12.7 mm) Browning M2HB machine gun
1,000 rounds
เครื่องยนต์M36, M36B1:Ford GAA V8 gasoline engine; 450 hp (336 kW) at 2,600 rpm
M36B2:General Motors 6046 twin inline diesel engine; 375 hp (280 kW) at 2,100 rpm
กำลัง/น้ำหนัก15.2 hp/metric ton
เครื่องถ่ายกำลังSynchromesh
5 speeds forward, 1 reverse
กันสะเทือนVertical volute spring suspension (VVSS)
ความจุเชื้อเพลิง192 US gallons (727 litres)
พิสัยปฏิบัติการ
150 mi (240 km)
ความเร็ว26 mph (42 kph) on road

เอ็ม 36 รถถังพิฆาต มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า 90 mm Gun Motor Carriage, M36, เป็นรถถังพิฆาตสัญชาติอเมริกันที่ถูกใช้ในสงครามโลกครั้งที่สอง รถถังเอ็ม36 เป็นการผสมผสานเข้ากับลำตัวของรถถังพิฆาต เอ็ม10 ซึ่งใช้ฐานรถถังของเอ็ม4 เชอร์แมนที่น่าเชื่อถือและระบบขับเคลื่อนที่รวมเข้ากับเกราะที่ลาดเอียง และป้อมปืนแบบใหม่ที่มีขนาดใหญ่ที่ติดตั้งด้วยปืนเอ็ม 3 ขนาด 90 มม. ถูกคิดค้นขึ้นในปี ค.ศ. 1943 รถถังเอ็ม 36 เข้าประจำการเป็นครั้งแรกในการสู้รบในทวีปยุโรปในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1944 ที่มันจะถูกแทนที่รถถังพิฆาต เอ็ม 10 เพียงบางส่วน มันยังแสดงให้เห็นในการใช้ในสงครามเกาหลี สามารถเอาชนะรถถังโซเวียตที่ถูกใช้ในช่วงความขัดแย้ง บางส่วนได้ถูกส่งเป็นตัวช่วยไปยังเกาหลีใต้ที่เป็นส่วนหนึ่งของโครงการให้ความช่วยเหลือทางทหารและเข้าประจำการเป็นเวลาหลายปี เช่นเดียวกับตัวอย่างที่พบอีกครั้งในยูโกสลาเวีย ซึ่งปฏิบัติการในปี ค.ศ. 1990 สองคันที่เหลือยังคงอยู่ประจำการในกองทัพบกแห่งสาธารณรัฐจีนจนกระทั่งปี ค.ศ. 2001

ทหารอเมริกันมักจะเรียกรถถังเอ็ม 36 ว่า "ทีดี" เป็นคำย่อมาจาก "รถถังพิฆาต"(Tank destroyer)[2]

อ้างอิง[แก้]

  1. 90mm Gun Motor Carriage M36 American Fighting Vehicle Database
  2. Keegan, John (1979). World armies (2 ed.). Macmillan. ISBN 0-333-17236-1.[ต้องการเลขหน้า]