ภาษาเปเชเนก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ภาษาเปเชเนก
ภูมิภาคยุโรปกลาง, ยุโรปตะวันออก
ยุคคริสต์ศตวรรษที่ 7–12[1]
ตระกูลภาษา
รหัสภาษา
ISO 639-3xpc
นักภาษาศาสตร์xpc

ภาษาเปเชเนก (Pecheneg language) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่ตายแล้ว เคยใช้พูดโดยชาวเปเชเนกในยุโรปตะวันออก (ส่วนหนึ่งของยูเครนใต้, รัสเซียใต้, มอลโดวา, โรมาเนีย และฮังการี) ในคริสต์ศตวรรษที่ 7–12 อันนา คอมเนเน เจ้าหญิงแห่งไบแซนไทน์ระบุว่าชาวเปเชเนกและCumansพูดภาษาเดียวกัน[2]

ภาษานี้มีลักษณะคล้ายกับภาษากลุ่มโอคุซที่เป็นกลุ่มย่อยของภาษากลุ่มเตอร์กิก[3] แต่มีหลักฐานหลงเหลืออยู่น้อย นักภาษาศาสตร์จัดให้อยู่ในภาษากลุ่มโปรโต-คัสเปียนซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของภาษากลุ่มเคียปชัก

อ้างอิง[แก้]

  1. ภาษาเปเชเนก at MultiTree on the Linguist List
  2. Howorth, Henry Hoyle (1880). "History of the Mongols". Google Books. สืบค้นเมื่อ 15 May 2016.
  3. Баскаков, Н. А. Тюркские языки, Москва 1960, с. 126-131.