ฟุตบอลโลกหญิง 2019 กลุ่มดี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ฟุตบอลโลกหญิง 2019 กลุ่มดี จะแข่งขันระหว่างวันที่ 9 ถึง 19 มิถุนายน พ.ศ. 2562[1] โดยในกลุ่มนี้ประกอบด้วยอังกฤษ สกอตแลนด์ อาร์เจนตินา และญี่ปุ่น[2] สองอันดับแรกจะได้ผ่านเข้าสู่รอบ 16 ทีมสุดท้าย และถ้าอันดับที่สามทำผลงานได้ดีเป็น 4 อันดับแรกจะได้ผ่านเข้ารอบด้วยเช่นกัน[3]

ทีม[แก้]

ตำแหน่งที่จับสลากได้ ทีมชาติ โถ สมาพันธ์ เส้นทางการเข้ารอบสุดท้าย วันที่เข้ารอบสุดท้าย จำนวนครั้งที่เข้ารอบสุดท้าย เข้ารอบสุดท้ายครั้งล่าสุด ผลงานที่ดีที่สุด อันดับโลก
ธันวาคม 2561[nb 1] มีนาคม 2562
D1 ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ 1 ยูฟ่า ชนะเลิศกลุ่มที่ 1 รอบคัดเลือกโซนยุโรป 31 สิงหาคม พ.ศ. 2561 5 2015 อันดับที่ 3 (2015) 4 3
D2 ธงชาติสกอตแลนด์ สกอตแลนด์ 3 ยูฟ่า ชนะเลิศกลุ่มที่ 2 รอบคัดเลือกโซนยุโรป 4 กันยายน พ.ศ. 2561 1 เข้ารอบเป็นครั้งแรก 20 20
D3 ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 4 คอนเมบอล ชนะเพลย์ออฟคอนคาแคฟ–คอนเมบอล 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 3 2007 รอบแบ่งกลุ่ม (2003 และ 2007) 36 37
D4 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 2 เอเอฟซี ชนะเลิศฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 13 เมษายน พ.ศ. 2561 8 2015 ชนะเลิศ (2011) 8 7

หมายเหตุ

ตารางคะแนน[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ (A) 3 3 0 0 5 1 +4 9 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น (A) 3 1 1 1 2 3 −1 4
3 ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 3 0 2 1 3 4 −1 2
4 ธงชาติสกอตแลนด์ สกอตแลนด์ (E) 3 0 1 2 5 7 −2 1
แหล่งที่มา : FIFA
กฎการจัดอันดับ : การตัดสินกรณีที่มีผลเสมอกัน
(A) ผ่านเข้าสู่รอบต่อไป; (E) ตกรอบ.

การแข่งขัน[แก้]

เวลาที่แสดงเป็นเวลาออมแสงยุโรปกลาง (UTC+2) ซึ่งช้ากว่าประเทศไทย 5 ชั่วโมง[1]

อังกฤษ พบ สกอตแลนด์[แก้]

อังกฤษ ธงชาติอังกฤษ2–1ธงชาติสกอตแลนด์ สกอตแลนด์
พาร์ริส Goal 14' (ลูกโทษ)
ไวต์ Goal 40'
รายงาน เอมส์ลี Goal 79'
ผู้ชม: 13,188 คน[4]
ผู้ตัดสิน: ยานา อาดัมคอวา (สาธารณรัฐเช็ก)
อังกฤษ[5]
สกอตแลนด์[5]
GK 1 คาเรน บาดส์ลีย์
RB 2 ลูซี บรอนซ์
CB 5 สเตฟ ฮอตัน (กัปตัน)
CB 6 มิลลี ไบรต์ Substituted off in the 55 นาที 55'
LB 3 อเล็กซ์ กรีนวูด
CM 4 เคย์รา วอลช์
CM 10 ฟราน เคอร์บี Substituted off in the 82 นาที 82'
CM 8 จิล สกอตต์
RF 7 นิกิตา พาร์ริส
CF 18 เอลเลน ไวต์
LF 22 เบท มีด Substituted off in the 71 นาที 71'
ผู้เล่นสำรอง:
DF 15 แอบบี แมกมานัส Substituted on in the 55 minute 55'
MF 20 คาเรน คาร์นีย์ Substituted on in the 71 minute 71'
MF 19 จอร์เจีย สแตนเวย์ Substituted on in the 82 minute 82'
ผู้จัดการทีม:
ฟิล เนวิลล์
GK 1 ลี อเล็กซานเดอร์
RB 15 โซฟี ฮาเวิร์ด Substituted off in the 75 นาที 75'
CB 4 เรเชล คอร์ซี (กัปตัน)
CB 5 เจนนิเฟอร์ บีตตี โดนใบเหลือง ใน 43 นาที 43'
LB 3 นิโคลา โดเคอร์ตี โดนใบเหลือง ใน 47 นาที 47' Substituted off in the 55 นาที 55'
DM 8 คิม ลิตเทิล
CM 16 คริสตี เมอร์เรย์ Substituted off in the 87 นาที 87'
CM 9 แคโรไลน์ เวียร์
RM 11 ลิซา อีวานส์
LM 18 แคลร์ เอมส์ลี
CF 22 เอริน คัทเบิร์ต
ผู้เล่นสำรอง:
DF 2 เคิร์สตี สมิท Substituted on in the 55 minute 55'
DF 14 โคลอี อาร์เทอร์ Substituted on in the 75 minute 75'
MF 23 ลิซซี อาร์นอต Substituted on in the 87 minute 87'
ผู้จัดการทีม:
เชลลีย์ เคอร์

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
นิกิตา พาร์ริส (อังกฤษ)[6]

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[5]
Lucie Ratajová (สาธารณรัฐเช็ก)
Mária Súkeníková (สโลวาเกีย)
ผู้ตัดสินที่สี่:
อานัสตาเซีย ปุสโตโวอีโตวา (รัสเซีย)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินสำรอง:
Sanja Rođak-Karšić (โครเอเชีย)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
Felix Zwayer (เยอรมนี)
ผู้ช่วยของผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
Paweł Gil (โปแลนด์)
เยคาเตรีนา คูรอชคีนา (รัสเซีย)

อาร์เจนตินา พบ ญี่ปุ่น[แก้]

อาร์เจนตินา[8]
ญี่ปุ่น[8]
GK 1 บานินา กอร์เรอา
RB 13 บีร์ฮิเนีย โกเมซ
CB 2 อากุสตินา บาร์โรโซ
CB 6 อัลดานา โกเมตติ
LB 3 เอเลียนา สตาบิเล
DM 16 โลเรนา เบนิเตซ Substituted off in the 79 นาที 79'
CM 8 รูต บราโบ Substituted off in the 64 นาที 64'
CM 14 มิเรียม มายอร์กา
RM 10 เอสเตฟานิอา บานินิ (กัปตัน)
LM 11 ฟลอเรนเซีย บอนเซกุนโด Substituted off in the 77 นาที 77'
CF 9 โซเล ไฮเมส
ผู้เล่นสำรอง:
MF 5 บาเนซา ซันตานา Substituted on in the 64 minute 64'
MF 19 มาเรียนา ลาร์โรเกตเต Substituted on in the 77 minute 77'
MF 17 มาริเอลา โกโรเนล Substituted on in the 79 minute 79'
ผู้จัดการทีม:
การ์โลส บอร์เรโย
GK 18 อายากะ ยามาชิตะ
RB 22 ริซะ ชิมิซุ โดนใบเหลือง ใน 38 นาที 38'
CB 4 ซากิ คูมาไง (กัปตัน)
CB 12 โมเอกะ มินามิ
LB 3 อายะ ซาเมชิมะ
RM 7 เอมิ นากาจิมะ Substituted off in the 74 นาที 74'
CM 6 ฮินะ ซูงิตะ โดนใบเหลือง ใน 45+1 นาที 45+1'
CM 17 นารูมิ มิอูระ
LM 14 ยูอิ ฮาเซงาวะ
CF 9 ยูอิกะ ซูงาซาวะ Substituted off in the 90 นาที 90'
CF 20 คูมิ โยโกยามะ Substituted off in the 57 นาที 57'
ผู้เล่นสำรอง:
FW 8 มานะ อิวาบูจิ โดนใบเหลือง ใน 85 นาที 85' Substituted on in the 57 minute 57'
FW 19 จุง เอ็นโด Substituted on in the 74 minute 74'
MF 13 ซาโอริ ทาการาดะ Substituted on in the 90 minute 90'
ผู้จัดการทีม:
อาซาโกะ ทากากูระ

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
เอสเตฟานิอา บานินิ (อาร์เจนตินา)[9]

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:
Manuela Nicolosi (ฝรั่งเศส)
มิเชล โอนีล (สาธารณรัฐไอร์แลนด์)
ผู้ตัดสินที่สี่:
แอนนา-มารี คีห์ลีย์ (นิวซีแลนด์)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินสำรอง:
ซาราห์ โจนส์ (นิวซีแลนด์)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
Clément Turpin (ฝรั่งเศส)
ผู้ช่วยของผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
การ์โลส เดล เซร์โร กรันเด (สเปน)
แคทรีน เนสบิตต์ (สหรัฐ)

ญี่ปุ่น พบ สกอตแลนด์[แก้]

ญี่ปุ่น ธงชาติญี่ปุ่น2–1ธงชาติสกอตแลนด์ สกอตแลนด์
อิวาบูจิ Goal 23'
ซูงาซาวะ Goal 37' (ลูกโทษ)
รายงาน เคลลแลนด์ Goal 88'
ผู้ชม: 13,201 คน[10]
ผู้ตัดสิน: ลิดยา ทาเฟสเซ อาเบเบ (เอธิโอเปีย)
ญี่ปุ่น[11]
สกอตแลนด์[11]
GK 18 อายากะ ยามาชิตะ
RB 22 ริซะ ชิมิซุ
CB 4 ซากิ คูมาไง (กัปตัน)
CB 5 นานะ อิจิเซะ
LB 3 อายะ ซาเมชิมะ โดนใบเหลือง ใน 19 นาที 19'
RM 7 เอมิ นากาจิมะ
CM 17 นารูมิ มิอูระ
CM 6 ฮินะ ซูงิตะ
LM 19 จุง เอ็นโด Substituted off in the 66 นาที 66'
CF 9 ยูอิกะ ซูงาซาวะ
CF 8 มานะ อิวาบูจิ Substituted off in the 81 นาที 81'
ผู้เล่นสำรอง:
FW 11 ริกาโกะ โคบายาชิ Substituted on in the 66 minute 66'
MF 14 ยูอิ ฮาเซงาวะ Substituted on in the 81 minute 81'
ผู้จัดการทีม:
อาซาโกะ ทากากูระ
GK 1 ลี อเล็กซานเดอร์
RB 2 เคิร์สตี สมิท
CB 4 เรเชล คอร์ซี (กัปตัน) โดนใบเหลือง ใน 36 นาที 36'
CB 5 เจนนิเฟอร์ บีตตี
LB 7 เฮย์ลีย์ ลอเดอร์
RM 11 ลิซา อีวานส์ Substituted off in the 85 นาที 85'
CM 8 คิม ลิตเทิล
CM 9 แคโรไลน์ เวียร์
LM 23 ลิซซี อาร์นอต Substituted off in the 60 นาที 60'
CF 22 เอริน คัทเบิร์ต
CF 13 เจน รอสส์ Substituted off in the 76 นาที 76'
ผู้เล่นสำรอง:
FW 18 แคลร์ เอมส์ลี Substituted on in the 60 minute 60'
FW 19 ลานา เคลลแลนด์ Substituted on in the 76 minute 76'
FW 20 ฟิโอนา บราวน์ Substituted on in the 85 minute 85'
ผู้จัดการทีม:
เชลลีย์ เคอร์

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
มานะ อิวาบูจิ (ญี่ปุ่น)[12]

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[11]
Mary Njoroge (เคนยา)
Queency Victoire (มอริเชียส)
ผู้ตัดสินที่สี่:
Gladys Lengwe (แซมเบีย)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินสำรอง:
พรินเซส บราวน์ (จาเมกา)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
มัสซีมีลีอาโน อีร์ราตี (อิตาลี)
ผู้ช่วยของผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
ดรูว์ ฟิชเชอร์ (แคนาดา)
Oleksandra Ardasheva (ยูเครน)

อังกฤษ พบ อาร์เจนตินา[แก้]

อังกฤษ ธงชาติอังกฤษ1–0ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา
เทย์เลอร์ Goal 62' รายงาน
ผู้ชม: 20,294 คน[13]
ผู้ตัดสิน: ฉิน เหลียง (จีน)
อังกฤษ[14]
อาร์เจนตินา[14]
GK 13 คาร์ลี เทลฟอร์ด
RB 2 ลูซี บรอนซ์
CB 5 สเตฟ ฮอตัน (กัปตัน)
CB 15 แอบบี แมกมานัส
LB 3 อเล็กซ์ กรีนวูด
CM 22 เบท มีด Substituted off in the 81 นาที 81'
CM 16 เจด มัวร์ โดนใบเหลือง ใน 45+2 นาที 45+2'
CM 8 จิล สกอตต์
RF 10 ฟราน เคอร์บี Substituted off in the 89 นาที 89'
CF 9 โจดี เทย์เลอร์
LF 7 นิกิตา พาร์ริส Substituted off in the 87 นาที 87'
ผู้เล่นสำรอง:
MF 19 จอร์เจีย สแตนเวย์ Substituted on in the 81 minute 81'
DF 17 เรเชล เดลี Substituted on in the 87 minute 87'
MF 20 คาเรน คาร์นีย์ Substituted on in the 89 minute 89'
ผู้จัดการทีม:
ฟิล เนวิลล์
GK 1 บานินา กอร์เรอา
RB 4 อาเดรียนา ซัชส์
CB 2 อากุสตินา บาร์โรโซ โดนใบเหลือง ใน 69 นาที 69'
CB 6 อัลดานา โกเมตติ โดนใบเหลือง ใน 39 นาที 39'
LB 3 เอเลียนา สตาบิเล
DM 14 มิเรียม มายอร์กา
CM 8 รูต บราโบ
CM 16 โลเรนา เบนิเตซ Substituted off in the 77 นาที 77'
RM 10 เอสเตฟานิอา บานินิ (กัปตัน) Substituted off in the 68 นาที 68'
LM 11 ฟลอเรนเซีย บอนเซกุนโด
CF 9 โซเล ไฮเมส Substituted off in the 90 นาที 90'
ผู้เล่นสำรอง:
MF 19 มาเรียนา ลาร์โรเกตเต Substituted on in the 68 minute 68'
MF 5 บาเนซา ซันตานา Substituted on in the 77 minute 77'
FW 7 ยาเอล โอบิเอโด Substituted on in the 90 minute 90'
ผู้จัดการทีม:
การ์โลส บอร์เรโย

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
บานินา กอร์เรอา (อาร์เจนตินา)[15]

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[14]
Fang Yan (จีน)
คิม คย็อง-มิน (เกาหลีใต้)
ผู้ตัดสินที่สี่:
รี ฮยัง-อก (เกาหลีเหนือ)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินสำรอง:
ฮง กึม-นยอ (เกาหลีเหนือ)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
Felix Zwayer (เยอรมนี)
ผู้ช่วยของผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
Sascha Stegemann (เยอรมนี)
Katrin Rafalski (เยอรมนี)

ญี่ปุ่น พบ อังกฤษ[แก้]

ญี่ปุ่น[17]
อังกฤษ[17]
GK 18 อายากะ ยามาชิตะ
RB 22 ริซะ ชิมิซุ
CB 4 ซากิ คูมาไง (กัปตัน)
CB 5 นานะ อิจิเซะ
LB 3 อายะ ซาเมชิมะ
RM 11 ริกาโกะ โคบายาชิ Substituted off in the 62 นาที 62'
CM 7 เอมิ นากาจิมะ
CM 6 ฮินะ ซูงิตะ
LM 19 จุง เอ็นโด Substituted off in the 85 นาที 85'
CF 20 คูมิ โยโกยามะ Substituted off in the 61 นาที 61'
CF 8 มานะ อิวาบูจิ
ผู้เล่นสำรอง:
FW 9 ยูอิกะ ซูงาซาวะ Substituted on in the 61 minute 61'
MF 17 นารูมิ มิอูระ Substituted on in the 62 minute 62'
MF 13 ซาโอริ ทาการาดะ Substituted on in the 85 minute 85'
ผู้จัดการทีม:
อาซาโกะ ทากากูระ
GK 1 คาเรน บาดส์ลีย์
RB 2 ลูซี บรอนซ์
CB 5 สเตฟ ฮอตัน (กัปตัน)
CB 6 มิลลี ไบรต์
LB 12 เดมี สโตกส์
CM 8 จิล สกอตต์
CM 4 เคย์รา วอลช์ Substituted off in the 72 นาที 72'
CM 19 จอร์เจีย สแตนเวย์ Substituted off in the 74 นาที 74'
RF 17 เรเชล เดลี
CF 18 เอลเลน ไวต์
LF 11 โทนี ดักแกน Substituted off in the 83 นาที 83'
ผู้เล่นสำรอง:
MF 16 เจด มัวร์ Substituted on in the 72 minute 72'
MF 20 คาเรน คาร์นีย์ Substituted on in the 74 minute 74'
FW 7 นิกิตา พาร์ริส Substituted on in the 83 minute 83'
ผู้จัดการทีม:
ฟิล เนวิลล์

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
เอลเลน ไวต์ (อังกฤษ)[18]

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[17]
ลูเซียนา มัสการัญญา (อุรุกวัย)
โมนิกา อัมโบยา (เอกวาดอร์)
ผู้ตัดสินที่สี่:
มาริอา การ์บาฮัล (ชิลี)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินสำรอง:
Queency Victoire (มอริเชียส)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
การ์โลส เดล เซร์โร กรันเด (สเปน)
ผู้ช่วยของผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
โฆเซ มาริอา ซันเชซ มาร์ติเนซ (สเปน)
เลสลิเอ บัสเกซ (ชิลี)

สกอตแลนด์ พบ อาร์เจนตินา[แก้]

สกอตแลนด์[20]
อาร์เจนตินา[20]
GK 1 ลี อเล็กซานเดอร์ โดนใบเหลือง ใน 90+3 นาที 90+3'
RB 2 เคิร์สตี สมิท Substituted off in the 86 นาที 86'
CB 4 เรเชล คอร์ซี (กัปตัน)
CB 5 เจนนิเฟอร์ บีตตี
LB 3 นิโคลา โดเคอร์ตี
CM 8 คิม ลิตเทิล
CM 10 ลีแอนน์ คริคตัน
CM 9 แคโรไลน์ เวียร์ โดนใบเหลือง ใน 86 นาที 86'
RF 11 ลิซา อีวานส์ Substituted off in the 86 นาที 86'
CF 22 เอริน คัทเบิร์ต โดนใบเหลือง ใน 85 นาที 85'
LF 18 แคลร์ เอมส์ลี
ผู้เล่นสำรอง:
DF 15 โซฟี ฮาเวิร์ด Substituted on in the 86 minute 86'
FW 20 ฟิโอนา บราวน์ Substituted on in the 86 minute 86'
ผู้จัดการทีม:
เชลลีย์ เคอร์
GK 1 บานินา กอร์เรอา
RB 8 รูต บราโบ
CB 2 อากุสตินา บาร์โรโซ
CB 6 อัลดานา โกเมตติ
LB 3 เอเลียนา สตาบิเล
RM 19 มาเรียนา ลาร์โรเกตเต โดนใบเหลือง ใน 75 นาที 75'
CM 5 บาเนซา ซันตานา Substituted off in the 82 นาที 82'
CM 16 โลเรนา เบนิเตซ
LM 11 ฟลอเรนเซีย บอนเซกุนโด
CF 10 เอสเตฟานิอา บานินิ (กัปตัน) Substituted off in the 60 นาที 60'
CF 9 โซเล ไฮเมส Substituted off in the 70 นาที 70'
ผู้เล่นสำรอง:
FW 22 มิลาโกรส เมเนนเดซ Substituted on in the 60 minute 60'
MF 20 ดาลิลา อิปโปลิโต Substituted on in the 70 minute 70'
MF 14 มิเรียม มายอร์กา Substituted on in the 82 minute 82'
ผู้จัดการทีม:
การ์โลส บอร์เรโย

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
เอริน คัทเบิร์ต (สกอตแลนด์)[21]

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[20]
ฮง กึม-นยอ (เกาหลีเหนือ)
คิม คย็อง-มิน (เกาหลีใต้)
ผู้ตัดสินที่สี่:
Lidya Tafesse Abebe (เอธิโอเปีย)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินสำรอง:
มาโกโตะ โบโซโนะ (ญี่ปุ่น)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
Bastian Dankert (เยอรมนี)
ผู้ช่วยของผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:
ดรูว์ ฟิชเชอร์ (แคนาดา)
Katrin Rafalski (เยอรมนี)

การคาดโทษ[แก้]

คะแนนแฟร์เพลย์จะถูกนำมาใช้ในฐานะเงื่อนไขการตัดสินการเข้ารอบถ้าโดยรวมและสถิติเฮดทูเฮดของแต่ละทีมเสมอกัน. โดยคิดคะแนนขึ้นอยู่กับจำนวนใบเหลืองและจำนวนใบแดงที่ได้รับในแต่ละนัดของทุกกลุ่มทั้งหมดดังต่อไปนี้:[3]

  • ใบเหลืองใบแรก: ลบ 1 คะแนน;
  • ใบแดงทางอ้อม (ใบเหลืองใบที่สอง): ลบ 3 คะแนน;
  • ใบแดงโดยตรง: ลบ 4 คะแนน;
  • ใบเหลืองและใบแดงโดยตรง: ลบ 5 คะแนน;
ทีม นัดที่ 1 นัดที่ 2 นัดที่ 3 คะแนน
โดนใบเหลือง Yellow card Yellow-red card Red card Yellow card Red card โดนใบเหลือง Yellow card Yellow-red card Red card Yellow card Red card โดนใบเหลือง Yellow card Yellow-red card Red card Yellow card Red card
ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ 1 −1
ธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 2 1 −3
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 3 1 −4
ธงชาติสกอตแลนด์ สกอตแลนด์ 2 1 3 −6

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 "Match Schedule FIFA Women's World Cup France 2019" (PDF). FIFA.com. 8 December 2018.
  2. "FIFA Women's World Cup France 2019 match schedule confirmed". FIFA. 8 December 2018. สืบค้นเมื่อ 8 December 2018.
  3. 3.0 3.1 "Regulations – FIFA Women's World Cup France 2019" (PDF). FIFA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-10-13. สืบค้นเมื่อ 8 December 2018.
  4. "Match report – Group D – England v Scotland" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 9 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  5. 5.0 5.1 5.2 "Tactical Line-up – Group D – England v Scotland" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 9 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  6. "England v Scotland – Player of the Match". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 9 มิถุนายน พ.ศ. 2562. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-06-26. สืบค้นเมื่อ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  7. "Match report – Group D – Argentina v Japan" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 10 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  8. 8.0 8.1 "Tactical Line-up – Group D – Argentina v Japan" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 10 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  9. "Argentina v Japan – Player of the Match". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 10 มิถุนายน พ.ศ. 2562. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-07-07. สืบค้นเมื่อ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  10. "Match report – Group D – Japan v Scotland" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 14 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  11. 11.0 11.1 11.2 "Tactical Line-up – Group D – Japan v Scotland" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 14 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  12. "Japan v Scotland – Player of the Match". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 14 มิถุนายน พ.ศ. 2562. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-07-09. สืบค้นเมื่อ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  13. "Match report – Group D – England v Argentina" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 14 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  14. 14.0 14.1 14.2 "Tactical Line-up – Group D – England v Argentina" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 14 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  15. "England v Argentina – Player of the Match". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 14 มิถุนายน พ.ศ. 2562. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-07-09. สืบค้นเมื่อ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  16. "Match report – Group D – Japan v England" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 19 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  17. 17.0 17.1 17.2 "Tactical Line-up – Group D – Japan v England" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 19 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  18. "Japan v England – Player of the Match". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 19 มิถุนายน พ.ศ. 2562. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-12-07. สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  19. "Match report – Group D – Scotland v Argentina" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 19 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  20. 20.0 20.1 20.2 "Tactical Line-up – Group D – Scotland v Argentina" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 19 มิถุนายน พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)
  21. "Scotland v Argentina – Player of the Match". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 19 มิถุนายน พ.ศ. 2562. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-07-09. สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= และ |date= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]