ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ญิน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว
บรรทัด 4: บรรทัด 4:
โดยทั่วไปแล้ว ลักษณะของญิน หรือ ดีญิน จะคล้ายคลึงกับผีหรือปีศาจตามความเชื่อของศาสนาหรือลัทธิอื่น หากแต่ญินกำเนิดมาจากไฟไร้ควันที่[[อัลลอฮ์]]ทรงสร้างขึ้น และกำเนิดก่อน[[มนุษย์]]คนแรกคือ[[อาดัม]]เป็นเวลานานมาก<ref>อัลกุรอ่าน 15: 26-27</ref> ญินเกิดมาเพื่อสร้างความดี (อิบาดะฮ์) ถวายแด่อัลลอฮฺ ญินอาศัยอยู่บนโลกมนุษย์ แต่อยู่อีกมิติหนึ่ง<ref name=วี/> มีสังคมเหมือนกับมนุษย์ มีการดำเนินชีวิต มีเกิด มีตาย มีปัญญา มีศรัทธา มีปฏิเสธ มีความสามารถเหนือมนุษย์ สามารถทำในสิ่งที่หลากหลายมากกว่า อายุยืนยาวมากกว่ามาก สามารถบินได้ ปรากฏกายได้ จำแลงกายทั้งในรูปมนุษย์และสัตว์ ญินสามารถมองเห็นมนุษยได้ แต่มนุษย์จะมองไม่เห็นญิน เว้นแต่ญินจะปรากฏร่างให้เห็นเอง โดยรากศัพท์ของคำว่าญิน หมายถึง "ปกปิดซ่อนเร้น"<ref>อัลกุรอ่าน 7: 27</ref> ญินสามารถหลอกล่อหรือหลอกลวงมนุษย์ให้หลงผิดไปได้ด้วย หากผู้ใดที่พยายามติดต่อหรือสื่อสารกับญินจะสุ่มเสี่ยงมากต่อการผิดต่อหลักศาสนาหรือกลายเป็นผู้นอกรีต เนื่องจากเป็นการเข้าไปสู่[[ไสยศาสตร์]]<ref>อัลกุรอ่าน 27: 38-39</ref>
โดยทั่วไปแล้ว ลักษณะของญิน หรือ ดีญิน จะคล้ายคลึงกับผีหรือปีศาจตามความเชื่อของศาสนาหรือลัทธิอื่น หากแต่ญินกำเนิดมาจากไฟไร้ควันที่[[อัลลอฮ์]]ทรงสร้างขึ้น และกำเนิดก่อน[[มนุษย์]]คนแรกคือ[[อาดัม]]เป็นเวลานานมาก<ref>อัลกุรอ่าน 15: 26-27</ref> ญินเกิดมาเพื่อสร้างความดี (อิบาดะฮ์) ถวายแด่อัลลอฮฺ ญินอาศัยอยู่บนโลกมนุษย์ แต่อยู่อีกมิติหนึ่ง<ref name=วี/> มีสังคมเหมือนกับมนุษย์ มีการดำเนินชีวิต มีเกิด มีตาย มีปัญญา มีศรัทธา มีปฏิเสธ มีความสามารถเหนือมนุษย์ สามารถทำในสิ่งที่หลากหลายมากกว่า อายุยืนยาวมากกว่ามาก สามารถบินได้ ปรากฏกายได้ จำแลงกายทั้งในรูปมนุษย์และสัตว์ ญินสามารถมองเห็นมนุษยได้ แต่มนุษย์จะมองไม่เห็นญิน เว้นแต่ญินจะปรากฏร่างให้เห็นเอง โดยรากศัพท์ของคำว่าญิน หมายถึง "ปกปิดซ่อนเร้น"<ref>อัลกุรอ่าน 7: 27</ref> ญินสามารถหลอกล่อหรือหลอกลวงมนุษย์ให้หลงผิดไปได้ด้วย หากผู้ใดที่พยายามติดต่อหรือสื่อสารกับญินจะสุ่มเสี่ยงมากต่อการผิดต่อหลักศาสนาหรือกลายเป็นผู้นอกรีต เนื่องจากเป็นการเข้าไปสู่[[ไสยศาสตร์]]<ref>อัลกุรอ่าน 27: 38-39</ref>


แต่ญิน มิใช่ผี ตามคติของศาสนาอิสลาม ผู้ที่ตายไปแล้วจะถูกนำไปพักรออยู่ในโลกแห่ง[[บัรซัค]] ไม่สามารถออกมาอาละวาดหลอกหลอนผู้คนอย่างความเชื่อโดยทั่วไป เพียงแต่มี[[ชัยฏอน]] หรือ อิบลิส ซึ่งก็เป็นญินตนหนึ่งที่ผิดต่ออัลลอฮฺ
แต่ญิน มิใช่ผี ตามคติของศาสนาอิสลาม ผู้ที่ตายไปแล้วจะถูกนำไปพักรออยู่ในโลกแห่ง[[บัรซัค]] ไม่สามารถออกมาอาละวาดหลอกหลอนผู้คนอย่างความเชื่อโดยทั่วไป เพียงแต่มี[[ชัยฏอน]] หรือ อิบลิส ซึ่งก็เป็นญินตนหนึ่งที่ผิดต่ออัลลอฮฺ ปัจจุบันความเชื่อเรื่องญินยังคงมีอยู่ในหมู่ชาวชนบทหรือชาว[[เบดูอิน]] ผู้ที่อ้างว่าได้เคยพบเจอกับญิน อ้างว่าญินมีสภาพไม่มีตัวตน มองไม่เห็น แต่สามารถสัมผัสหรือรู้สึกได้ในบางสถานที่ เช่น ได้ยินเสียงคนเรียกชื่อตน แต่เมื่อหันไปมองแล้วกลับไม่พบตัว เป็นต้น โดยสถานที่ ๆ เชื่อว่ามีญินอาศัยอยู่ เช่น [[เพตรา]] ในจอร์แดน หรือหมู่บ้านชาวประมงร้างแห่งหนึ่งใกล้กับ[[รัฐราสอัลไคมาห์]] ของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ก็เชื่อว่าเป็นที่สิงสถิตย์ของญิน<ref name=วี>{{cite news|title=อ วีระ ผี! อิสลาม เป็นอย่างไร|url=https://www.youtube.com/watch?v=9XJpeskLRvI|date=2013-08-29|accessdate=2016-09-16|work=วีระ ธีรภัทร}}</ref><ref name=ผี>{{cite news|title=Destination Truth S03E14 Ghosts of Petra & The Lizard Man|url=http://www.dailymotion.com/video/x3kkzx1|date=2016-03-01|accessdate=2016-09-16|work=Destination Truth}}</ref><ref>{{cite news|url=http://www.thenational.ae/uae/national-day/our-guide-to-the-living-ghost-town-jazirat-al-hamra-ras-al-khaimah|title=Our guide to the living ghost town Jazirat Al Hamra, Ras Al Khaimah|work=The National|date=27 November 2014|accessdate=30 October 2015|first=Anna|last=Zacharias}}</ref><ref>{{cite news|url=http://khaleejtimes.com/wknd/editors-picks/Dubai-residents-recount-their-scariest-moments|title=Dubai residents recount their scariest moments|work=Khaleej Times|first=Rohit|last=Nair|date=30 October 2015|accessdate=30 October 2015}}</ref><ref>{{cite news|url=http://gulfnews.com/xpress/dubai/news/revealed-uae-s-most-haunted-places-1.1609108|title=Revealed: UAE’s most ‘haunted’ places|work=Gulf News|date=28 October 2015|accessdate=30 October 2015|first=Abhishek Sengupta}}</ref>


ในเชิงวัฒนธรรม ญิน เป็นที่รู้จักกันดีในชื่อของ "จินนี่" ใน[[นิทานพันหนึ่งราตรี]] ยักษ์หรืออสูรในตะเกียงวิเศษของ[[อาละดิน]]หรืออาลีบาบา ก็คือ ญิน<ref>{{cite web|url=http://topicstock.pantip.com/religious/topicstock/2006/12/Y4987207/Y4987207.html|title=ถามเพื่อนๆมุสลิมคร้าบเกี่ยวกะ ญิน|date=2009-12-22|accessdate=2016-09-17|author= in_my_meta|work=พันทิปดอตคอม}}</ref>


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:41, 2 มิถุนายน 2564

ภาพอิมามอะลีพิชิตญิน ปัจจุบันอยู่ที่พระราชวังโกเลสถาน

ญิน หรือ ดีญิน[1] (อาหรับ: جني jinnī, อังกฤษ: genie, dijinn; แปลว่า ผี[1] หรือ ปีศาจ[2]) เป็นสิ่งมีชีวิตเหนือธรรมชาติชนิดหนึ่ง ตามความเชื่อของชาวอาหรับ มีระบุอยู่ในอัลกุรอาน มีความเกี่ยวข้องกับ อิบลีส ซึ่งเป็นญินที่มีความชั่วร้ายและมีพลังอำนาจมาก

โดยทั่วไปแล้ว ลักษณะของญิน หรือ ดีญิน จะคล้ายคลึงกับผีหรือปีศาจตามความเชื่อของศาสนาหรือลัทธิอื่น หากแต่ญินกำเนิดมาจากไฟไร้ควันที่อัลลอฮ์ทรงสร้างขึ้น และกำเนิดก่อนมนุษย์คนแรกคืออาดัมเป็นเวลานานมาก[3] ญินเกิดมาเพื่อสร้างความดี (อิบาดะฮ์) ถวายแด่อัลลอฮฺ ญินอาศัยอยู่บนโลกมนุษย์ แต่อยู่อีกมิติหนึ่ง[4] มีสังคมเหมือนกับมนุษย์ มีการดำเนินชีวิต มีเกิด มีตาย มีปัญญา มีศรัทธา มีปฏิเสธ มีความสามารถเหนือมนุษย์ สามารถทำในสิ่งที่หลากหลายมากกว่า อายุยืนยาวมากกว่ามาก สามารถบินได้ ปรากฏกายได้ จำแลงกายทั้งในรูปมนุษย์และสัตว์ ญินสามารถมองเห็นมนุษยได้ แต่มนุษย์จะมองไม่เห็นญิน เว้นแต่ญินจะปรากฏร่างให้เห็นเอง โดยรากศัพท์ของคำว่าญิน หมายถึง "ปกปิดซ่อนเร้น"[5] ญินสามารถหลอกล่อหรือหลอกลวงมนุษย์ให้หลงผิดไปได้ด้วย หากผู้ใดที่พยายามติดต่อหรือสื่อสารกับญินจะสุ่มเสี่ยงมากต่อการผิดต่อหลักศาสนาหรือกลายเป็นผู้นอกรีต เนื่องจากเป็นการเข้าไปสู่ไสยศาสตร์[6]

แต่ญิน มิใช่ผี ตามคติของศาสนาอิสลาม ผู้ที่ตายไปแล้วจะถูกนำไปพักรออยู่ในโลกแห่งบัรซัค ไม่สามารถออกมาอาละวาดหลอกหลอนผู้คนอย่างความเชื่อโดยทั่วไป เพียงแต่มีชัยฏอน หรือ อิบลิส ซึ่งก็เป็นญินตนหนึ่งที่ผิดต่ออัลลอฮฺ


อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ ผี
  2. Ibn Taymiyah's Essay on the Jinn (Demons), abridged, annotated and translated by Dr. Abu Ameenah Bilal Philips, International Islamic Publishing House: Riyadh, p. 19 (note 4).
  3. อัลกุรอ่าน 15: 26-27
  4. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ วี
  5. อัลกุรอ่าน 7: 27
  6. อัลกุรอ่าน 27: 38-39

แหล่งข้อมูลอื่น