ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศักราช"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
อภัสรา สุขลิต (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
อภัสรา สุขลิต (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'ศักราช' ([[ภาษาอังกฤษ]]: era) ช่วงเวลาที่จัดขึ้นตามการอ้างอิงของช่วงเวลานั้น โดยแบ่งได้ตามการอ้างอิงหรือการเรียก
'ศักราช' ([[ภาษาอังกฤษ]]: era) ช่วงเวลาที่จัดขึ้นตามการอ้างอิงของช่วงเวลานั้น โดยแบ่งได้ตามการอ้างอิงหรือการเรียก
* [[พุทธศักราช]] (พ.ศ.) - เริ่มนับเมื่อ[[พระพุทธเจ้า]]เสด็จดับขันธ์ปรินิพพาน เมื่อ[[วันเพ็ญ]] [[เดือน 6]] [[ปีจอ]] นิยมใช้ในประเทศที่นับถือ[[พุทธศาสนา]] โดยเฉพาะ[[ประเทศไทย|ไทย]] และ[[ประเทศศรีลังกา|ศรีลังกา]]
* [[พุทธศักราช]] (พ.ศ.) - เริ่มนับเมื่อ[[พระพุทธเจ้า]]เสด็จดับขันธ์ปรินิพพาน เมื่อ[[วันเพ็ญ]] [[เดือน 6]] [[ปีจอ]] นิยมใช้ในประเทศที่นับถือ[[พุทธศาสนา]] โดยเฉพาะ[[ประเทศไทย|ไทย]] และ[[ประเทศศรีลังกา|ศรีลังกา]]
* [[คริสต์ศักราช]] (ค.ศ.) - เริ่มนับตั้งแต่ [[พ.ศ. 543]] โดยนับปีที่[[พระเยซูคริสต์]]ประสูติ เป็น ค.ศ. 1 นิยมใช้ในประเทศที่นับถือศาสนาคริสต์และใช้เป็นปีอ้างอิงสากล
* [[คริสต์ศักราช]] (ค.ศ.) - เริ่มนับตั้งแต่ [[พ.ศ. 543]] โดยนับปีที่[[พระเยซูคริสต์]]ประสูติ เป็น ค.ศ. 1 นิยมใช้ในประเทศที่นับถือศาสนาคริสต์และใช้เป็นปีอ้างอิงสากลลลลลลลลลลลลลลลลลลลลลลลล
* [[มหาศักราช]] (ม.ศ.) - เริ่มตั้งแต่ [[พ.ศ. 622]] พระเจ้ากนิษกะของอินเดียทรงตั้งขึ้น ใช้ใน[[ศิลาจารึก]]และเอกสารประวัติศาสตร์ของไทยบ้าง แต่น้อยกว่าจุลศักราช
* [[มหาศักราช]] (ม.ศ.) - เริ่มตั้งแต่ [[พ.ศ. 622]] พระเจ้ากนิษกะของอินเดียทรงตั้งขึ้น ใช้ใน[[ศิลาจารึก]]และเอกสารประวัติศาสตร์ของไทยบ้าง แต่น้อยกว่าจุลศักราช
* [[ฮิจญ์เราะหฺศักราช]] (ฮ.ศ.) - เริ่มตั้งแต่ [[พ.ศ. 1966|พ.ศ. 1122 (ค.ศ.ุ622)]] เมื่อปีที่ท่าน[[นบีมุฮัมมัด]] (ค.ศ.570-632) อพยพจากเมืองเมกกะ ([[มักกะหฺ]]) ไปยังเมืองเมดีนา ([[มะดีนะหฺ]]) หลังจากที่ได้เผยแผ่อิสลามมาแล้วประมาณ 13 ปี ตั้งแต่อายุได้ 40 ปีที่ได้รับวะฮ์ยู(วิวรณ์)จากพระอัลลาห์ จนอายุได้ 52 ปี และมีสาวกประมาณ 120 คนเศษในเมกกะที่ติดตามไปด้วย นิยมใช้ในประเทศที่นับถือ[[ศาสนาอิสลาม]] ชาวไทยมุสลิมตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันใช้ฮิจญ์เราะหฺศักราชเพื่อประกอบศาสนกิจ (พ.ศ.๑๑๒๒ นับเป็น ฮ.ศ.1 )
* [[ฮิจญ์เราะหฺศักราช]] (ฮ.ศ.) - เริ่มตั้งแต่ [[พ.ศ. 1966|พ.ศ. 1122 (ค.ศ.ุ622)]] เมื่อปีที่ท่าน[[นบีมุฮัมมัด]] (ค.ศ.570-632) อพยพจากเมืองเมกกะ ([[มักกะหฺ]]) ไปยังเมืองเมดีนา ([[มะดีนะหฺ]]) หลังจากที่ได้เผยแผ่อิสลามมาแล้วประมาณ 13 ปี ตั้งแต่อายุได้ 40 ปีที่ได้รับวะฮ์ยู(วิวรณ์)จากพระอัลลาห์ จนอายุได้ 52 ปี และมีสาวกประมาณ 120 คนเศษในเมกกะที่ติดตามไปด้วย นิยมใช้ในประเทศที่นับถือ[[ศาสนาอิสลาม]] ชาวไทยมุสลิมตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันใช้ฮิจญ์เราะหฺศักราชเพื่อประกอบศาสนกิจ (พ.ศ.๑๑๒๒ นับเป็น ฮ.ศ.1 )

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:27, 11 มิถุนายน 2561

'ศักราช' (ภาษาอังกฤษ: era) ช่วงเวลาที่จัดขึ้นตามการอ้างอิงของช่วงเวลานั้น โดยแบ่งได้ตามการอ้างอิงหรือการเรียก

ศักราชทุกชนิดไม่มีศักราช 0 เช่น ก่อนค.ศ. 1 คือ 1 ปีก่อนคริสตกาลเป็นวิธีนับแบบปูรณสังขยา ยกเว้น พุทธศักราชที่นับอย่างไทย เป็นการนับแบบปกติสังขยา เป็นต้นจ้าา.

ศักราชในประเทศไทย

พุทธศักราช (พ.ศ.)
ประเทศไทยเริ่มใช้พุทธศักราชในหมู่พระสงฆ์ ก่อนที่รัชกาล 6 จะเกล้าให้นำมาใช้แทน ร.ศ. ปีพุทธศักราชของไทย ถือกำเนิดโดยให้วันปรินิพพานเป็นปี พ.ศ. 0 แต่ ศรีลังกา พม่า ลาว และเขมร นับมากกว่าเรา 1 ปี คือนับเอาวันปรินิพพานเป็นปีที่ 1 ในปัจจุบันมีค้นพบว่าพุทธศักราช มีความคลาดเคลื่อนไปจากความเข้าใจข้างต้น 60 ปี นั่นคือ เขาเชื่อกันว่า พระพุทธเจ้าปรินิพพานปี พ.ศ. 60 มิใช่ พ.ศ. 0
คริสต์ศักราช (ค.ศ.)
เริ่มนับเอาตั้งแต่ปีที่พระเยซูคริสต์เกิดเป็น ค.ศ. 1 ซึ่งเวลานั้น พ.ศ. มีมาแล้วนับได้ 543 ปี ดังนั้นวันคริสต์มาสในปี 2001 จึงครบรอบวันสมภพ 2000 ปี โดยมีวันที่ 1 มกราคมของทุกปี เป็นวันขึ้นปีใหม่
มหาศักราช (ม.ศ.)
หรือที่ชาวอินเดียเรียกว่า ศกาพทะ หรือ ศาลิวาหนกาล แปลว่า ปีของชาวศกะ (Scythian) เริ่มนับตั้งแต่ปีที่พระเจ้าศาลิวาหนะ หรือบางตำนานเรียกว่า พระเจ้ากนิษกะ แห่งศกราชวงศ์ ทรงมีชัยชนะเหนือแคว้นโดยรอบ เป็นมหาศักราชที่ 1 มีวิธีการนับวันเดือนปีจะเป็นไปตามสุริยคติ โดยวันขึ้นปีใหม่ วันที่ 1 เมษายนของทุกปี เกิดหลังพุทธศักราช 621 ปี
จุลศักราช (จ.ศ.)
เป็นการนับเดือนปีเป็นแบบทางจันทรคติ เริ่มนับ จ.ศ. 1 เมื่อปี พ.ศ. 1182 โดยนับเอาวันที่พระบุพโสระหัน สึกออกจากการเป็นพระมาเพื่อชิงราชบัลลังก์เป็นวันแรกของศักราช ในสมัยโบราณถือตามสุริยคติ (คัมภีร์สุริยยาตร์) ใช้วันเถลิงศก (ปัจจุบันตกราว 16 เมษายน) เป็นวันปีใหม่ แต่ต่อมาเนื่องจากเดือน 5 ไทยเราจะไปตรงกับเดือนจิตรามาสอันเป็นเดือนแรกของปฏิทินจันทรคติทางชมพูทวีป พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ โปรดเกล้าให้ถือตามจันทรคติ คือใช้วันขึ้น 1 ค่ำ เดือน 5 ของทุกปีเป็นวันขึ้นปีใหม่ทางจันทรคติและให้เป็นวันเปลี่ยนนักษัตรด้วย แต่ยังคงเปลี่ยนปีจุลศักราชในวันเถลิงศก
รัตนโกสินทร์ศก (ร.ศ.)
เริ่มใช้ในสมัยรัชกาลที่ 5 ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2432 เป็นวันที่ 1 เมษายน ร.ศ. 108 โดยถือเอาปีที่ตั้งกรุงเทพฯ เป็นเมืองหลวง เป็นปีรัตนโกสินทร์ศกที่ 1 และใช้อยู่จนถึง ร.ศ. 131 เป็น ร.ศ. สุดท้าย หรือเพียง 23 ปี ก็เลิกใช้ไป เพราะเห็นว่าไม่สะดวกในการอ้างอิงปีในประวัติศาสตร์ เช่น กล่าวว่า ไทยเสียกรุงครั้งที่ 2 ในปีที่ 15 ก่อน ร.ศ. เป็นต้น
กลียุคศักราช หรือกลียุคกาล (ก.ศ.)
เป็นศักราชจากชมพูทวีป และเป็นศักราชที่เก่าที่สุดที่ปรากฏในบันทึกของไทย เกิดก่อนพุทธศักราชถึง 2558ปี
วิกรมาทิตย์ศักราช (ว.ศ.) หรือวิกรมสังวัต
เป็นศักราชจากชมพูทวีป แต่ไม่มีปรากฏในบันทึกของไทย เกิดหลังพุทธศักราช 785 ปี
ศักราชพระเจ้าเหลือง (ล.ศ.)
เป็นศักราชที่ถือกำเกิดโดยพระเจ้าเหลืองมหาราช ของดินแดนที่เป็นประเทศจีนในปัจจุบัน เกิดก่อนพุทธศักราช 2154 ปี ในปัจจุบันมีข้อถกเถียงว่า ตัวเลขของศักราชนี้อาจมีค่ามากเกินไป 60 ปี เช่นเดียวกับ พ.ศ. และหรืออาจนับเอา ล.ศ. 0 เป็นปีตั้งศักราชด้วยก็ได้

แหล่งข้อมูลอื่น