ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อำเภอโพนทอง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘ฑูต’ ด้วย ‘ทูต’
บรรทัด 30: บรรทัด 30:
ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] มีเจ้าลาวทรงพระนามว่า "เจ้าโสมพะมิตร" ได้พาครอบครัวและบริวารข้ามฝั่งโขงมาจากบริเวณ[[ประเทศลาว]]ในปัจจุบัน มาตั้งรกรากที่บ้านน้ำดำ ([[จังหวัดกาฬสินธุ์]]ในปัจจุบัน) และขณะนั้น[[เจ้าอนุวงศ์]]แห่ง[[เวียงจันทน์]]ต้องการที่จะขยายอาณาเขตครอบครองแผ่นดินทางอีสานเหนือของไทยโดยมีจุดมุ่งหมายที่เมือง[[นครราชสีมา]] จึงเกณฑ์ให้กลุ่มเจ้าโสมพะมิตรร่วมรบด้วย แต่เจ้าโสมพะมิตรปฏิเสธที่จะช่วยรบ พร้อมกับอพยพหนีการจับกุมของเจ้าอนุวงศ์ มาตั้งกองคาราวานที่บ้านแวง ริมหนองบัว ซึ่งในละแวกนั้นมีท้าวโสใหญ่เป็นผู้ปกครองดูแลอยู่และตั้งถิ่นฐานอยู่บ้านโพนทองน้อย ท้าวโสใหญ่มีลูกชายสองคนคือ "โสน้อย" และ "พรหมมาใหญ่" ซึ่งได้ร่วมกันกับกลุ่มเจ้าโสมพะมิตรต่อต้านเจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์ จนเจ้าอนุวงศ์พ่ายแพ้หนีกลับเวียงจันทน์ไป ส่วนโสน้อยได้รวมพรรคพวกมาตั้งเมืองใหม่ที่บ้านแวง
ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] มีเจ้าลาวทรงพระนามว่า "เจ้าโสมพะมิตร" ได้พาครอบครัวและบริวารข้ามฝั่งโขงมาจากบริเวณ[[ประเทศลาว]]ในปัจจุบัน มาตั้งรกรากที่บ้านน้ำดำ ([[จังหวัดกาฬสินธุ์]]ในปัจจุบัน) และขณะนั้น[[เจ้าอนุวงศ์]]แห่ง[[เวียงจันทน์]]ต้องการที่จะขยายอาณาเขตครอบครองแผ่นดินทางอีสานเหนือของไทยโดยมีจุดมุ่งหมายที่เมือง[[นครราชสีมา]] จึงเกณฑ์ให้กลุ่มเจ้าโสมพะมิตรร่วมรบด้วย แต่เจ้าโสมพะมิตรปฏิเสธที่จะช่วยรบ พร้อมกับอพยพหนีการจับกุมของเจ้าอนุวงศ์ มาตั้งกองคาราวานที่บ้านแวง ริมหนองบัว ซึ่งในละแวกนั้นมีท้าวโสใหญ่เป็นผู้ปกครองดูแลอยู่และตั้งถิ่นฐานอยู่บ้านโพนทองน้อย ท้าวโสใหญ่มีลูกชายสองคนคือ "โสน้อย" และ "พรหมมาใหญ่" ซึ่งได้ร่วมกันกับกลุ่มเจ้าโสมพะมิตรต่อต้านเจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์ จนเจ้าอนุวงศ์พ่ายแพ้หนีกลับเวียงจันทน์ไป ส่วนโสน้อยได้รวมพรรคพวกมาตั้งเมืองใหม่ที่บ้านแวง


ต่อมาในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงประกาศให้มีการใช้นามสกุล "โสน้อย" จึงได้ใช้นามสกุลว่า "พลเยี่ยม" ซึ่งบริวารส่วนใหญ่ก็ใช้นามสกุลพลเยี่ยมเช่นกัน นายโสน้อยได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกำนันคนแรกของบ้านแวง (อำเภอแวงหรืออำเภอโพนทองในปัจจุบัน) มีชื่อว่า "ท้าวสุวรรณสาร" (จึงถือว่าท่านผู้นี้เป็นต้นสกุล "พลเยี่ยม") บ้านเรือนของท่านก่อนนี้ปลูกอยู่บริเวณที่ทำการไปรษณีย์โพนทองในปัจจุบัน ซึ่งยังปรากฏเสาหลักเมืองแวงตั้งอยู่ที่บริเวณมุมที่ตั้งของที่ทำการไปรษณีย์โพนทองจนทุกวันนี้ สาเหตุที่เนินนี้ไม่ค่อยมีการตั้งบ้านเรือนในอดีต อาจจะเนื่องจากอยู่ใกล้ลำน้ำยัง ซึ่งเป็นเส้นทางการเดินทาง ที่อาจจะมีการปล้นสดม์ได้โดยง่าย อีกประการคือดินบริเวณนี้เป็นดินทรายปนดินเหนียวร่วนที่ขุดง่ายและน้ำซึมผ่านได้ดี มีองค์ประกอบของแคลเซี่ยมในดินเหนียวขาวที่เหมาะแก่การกรองน้ำ แต่ไม่ค่อยเหมาะสมในการเพาะปลูกข้าวมากนัก ผู้คนส่วนใหญ่ในบริเวณนี้ในอดีตจึงนิยมตั้งบ้านเรือนที่แถบบ้านโพนทองน้อย
ต่อมาในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงประกาศให้มีการใช้นามสกุล "โสน้อย" จึงได้ใช้นามสกุลว่า "พลเยี่ยม" ซึ่งบริวารส่วนใหญ่ก็ใช้นามสกุลพลเยี่ยมเช่นกัน นายโสน้อยได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกำนันคนแรกของบ้านแวง (อำเภอแวงหรืออำเภอโพนทองในปัจจุบัน) มีชื่อว่า "ท้าวสุวรรณสาร" (จึงถือว่าท่านผู้นี้เป็นต้นสกุล "พลเยี่ยม") ซึ่งยังปรากฏเสาหลักเมืองแวงตั้งอยู่ที่บริเวณมุมที่ตั้งของที่ทำการไปรษณีย์โพนทองจนทุกวันนี้


ที่ว่าการอำเภอโพนทอง อยู่ข้างตลาดสดเทศบาลตำบล มีห้องสมุดประชาชน ประสิทธิ์-ตุ๊ พร้อมพันธ์ ปัจจุบัน เป็น ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน และ ห้องสมุด ที่ให้บริการ ห้องสมุด CD Rom และ บริการอินเทอร์เน็ต สำหรับประชาชนทั่วไป
ห้องสมุดประชาชน ประสิทธิ์-ตุ๊ พร้อมพันธ์ สร้างด้วยเงินบริจาค ที่ นายประสิทธิ์ นางตุ๊ พร้อมพันธ์ ผู้ประกอบกิจการ ไม้ โรงเลื่อยจักรไทยโพนทอง มอบให้กับ ผู้ว่าราชการจังหวัดร้อยเอ็ด นอกจากนี้ นายประสิทธิ์ และ นางตุ๊ พร้อมพันธ์ ยังได้ บริจาค สร้างอาคาร ที่ โรงพยาบาล จุฬาลงกรณ์ ด้วย
โรงเลื่อยจักรไทยโพนทองมีหุ้นส่วนอีกหลายราย ประกอบด้วย นายสังคม จรนิเทศ ซึ่งเดิมมีบ้านอยู่หัวมุม ถนน พศ.2462 จากการซื้อที่ดินจากพ่อใหญ่ฮ่อมาในราคา 30 บาท และ นายอุไร จันทราช ซึ่งมีบ้านอยู่ หลัง สภอ.เมืองร้อยเอ็ด ซึ่งพ่อใหญ่ฮ่อนั้นใช้นกกระทา 2 ตัวแลกที่ดิน ของพ่อใหญ่อุปฮาดมาจากพ่อใหญ่หาญชนะซึ่งเป็นลูกเขย


นามสกุลพลเยี่ยม นามสกุลประจำอำเภอ อาจจะเป็นนามสกุลอันดับแรกๆของประเทศไทย โดยไม่ได้มีการบันทึกไว้ เช่นเดียวกับ ราชสกุลจักรพงษ์ ที่ไม่มีในราชกิจจานุเบกษา นามสกุลพระราชทาน จากคำบอกเล่าของผู้สูงวัยของอำเภอ ทราบความได้ว่า เป็นนามสกุลที่ได้มีที่มาจากการไปรบศึกฮ่อกลับมา

นามสกุลพลเยี่ยม นามสกุลประจำอำเภอ อาจจะเป็นนามสกุลอันดับแรกๆของประเทศไทย โดยไม่ได้มีการบันทึกไว้ เช่นเดียวกับ ราชสกุลจักรพงษ์ ที่ไม่มีในราชกิจจานุเบกษา รายชื่อนามสกุลพระราชทาน จากคำบอกเล่าของผู้สูงวัยของอำเภอ ทราบความได้ว่า เป็นนามสกุลที่ได้มีที่มาจากการไปรบศึกฮ่อกลับมา
โดยมีผู้ที่ได้ไปร่วมรบศึกฮ่อจำนวน 4 คน คื่อ พ่อใหญ่ฮ่อ พ่อใหญ่ขันตี พ่อใหญ่วันดี พรหมเยี่ยม พ่อใหญ่อุปชิต
โดยมีผู้ที่ได้ไปร่วมรบศึกฮ่อจำนวน 4 คน คื่อ พ่อใหญ่ฮ่อ พ่อใหญ่ขันตี พ่อใหญ่วันดี พรหมเยี่ยม พ่อใหญ่อุปชิต


แต่ผู้ที่ได้ใช้นามสกุล พลเยี่ยม อันดับแรก คือ กำนันพรหม เครือญาติกัน ซึ่งรู้หนังสือ และนำใบไปขึ้นทะเบียนที่จังหวัดเป็นคนแรก ซึ่งสมัยนั้นใบตั้งนามสกุลน่าจะเป็นกระดาษปอนด์ ที่สั่งมาจากอังกฤษ พระยาไชยสุนทร เป็นเขยของตระกูล พลเยี่ยม ภายใต้พระราชบัญญัตขนานนามสกุล จึงได้ไช้ นามสกุล พลเยี่ยมไปก่อน เพื่อใช้ไปรับตำแหน่งที่กาฬสินธุ์ ตามที่มีนามสกุล พลเยี่ยม ปรากฏใน ราชกิจจานุเบกษา ต่อมาจึงตั้งนามสกุลใหม่เป็น ศรีกาฬสินธุ์ ตามคำบอกเล่าของลูกหลาน สกุลพลเยี่ยม ซึ่งเป็นอาจารย์ระดับด็อกเตอร์อยู่ที่ จังหวัด กาฬสินธุ์ ซึ่งไปค้นราชกิจจานุเบกษามา พบว่า ท้าวไชยสุนทร ได้รับการแต่งตั้งเป็นพระยาไชยสุนทร
แต่ผู้ที่ได้ใช้นามสกุล พลเยี่ยม อันดับแรก คือ กำนันพรหม เครือญาติกัน ซึ่งรู้หนังสือ และนำใบไปขึ้นทะเบียนที่จังหวัดเป็นคนแรก ซึ่งสมัยนั้นใบตั้งนามสกุลน่าจะเป็นกระดาษปอนด์ ที่สั่งมาจากอังกฤษ พระยาไชยสุนทร เป็นเขยของตระกูล พลเยี่ยม ต่อมาจึงตั้งนามสกุลใหม่เป็น ศรีกาฬสินธุ์ ตามคำบอกเล่าของลูกหลาน สกุลพลเยี่ยม ซึ่งเป็นอาจารย์ระดับด็อกเตอร์อยู่ที่ จังหวัด กาฬสินธุ์ ซึ่งไปค้นราชกิจจานุเบกษามา พบว่า ท้าวไชยสุนทร ได้รับการแต่งตั้งเป็นพระยาไชยสุนทร
พ่อใหญ่วันดี พรหมเยี่ยมตอนไปรบศึกฮ่อ ได้รับคำชมเชยจากผู้ร่วมรบว่ามีพลังช้างสาร สามารถแบกเสาปลูกค่ายด้วยลำพังผู้เดียวได้ จากคำบอกเล่าของยายทองมา ลูกสาวพ่อใหญ่วันดี ระบุว่า พ่อใหญ่วันดี หรือ พ่อใหญ่หาญชนะ ลงเสาล้อมที่นาเพียงลำพังในเวลาคืนข้างเดือน และมีช้างใช้งาน1ตัว เป็นช้างที่มีปัญหาเรื่องสายตา
พ่อใหญ่วันดี พรหมเยี่ยมตอนไปรบศึกฮ่อ ได้รับคำชมเชยจากผู้ร่วมรบว่ามีพลังช้างสาร สามารถแบกเสาปลูกค่ายด้วยลำพังผู้เดียวได้ จากคำบอกเล่าของยายทองมา ลูกสาวพ่อใหญ่วันดี ระบุว่า พ่อใหญ่วันดี หรือ พ่อใหญ่หาญชนะ ลงเสาล้อมที่นาเพียงลำพังในเวลาคืนข้างเดือน และมีช้างใช้งาน1ตัว พ่อใหญ่วันดี พรหมเยี่ยม ซึ่งในเวลาต่อมาเป็น พ่อใหญ่หาญชนะ พลเยี่ยม เป็นลูกเขยของ พ่อใหญ่อุปฮาด ซึ่งโยกย้ายมาจากเมือง กมลาไสย มาตั้งบ้านเรือนในบริเวณที่ตั้งอำเภอเป็นอันดับแรกในแถบศาลาประชาคม และที่ราชพัสดุข้างคลองในปัจจุบัน เมื่อจะมีการใช้พื้นที่ในบริเวณตำบลแวงตั้งเป็นอำเภอบรรดาเครือญาติพ่อใหญ่วันดี จึงมาขอพื้นที่ที่หักร้างถางพงเลี้ยงวัวจากพ่อใหญ่อุปฮาดตั้งบ้านเรือนหลังต่อมาและขยายเป็นหมู่บ้าน
พ่อใหญ่วันดี พรหมเยี่ยม ซึ่งในเวลาต่อมาเป็น พ่อใหญ่หาญชนะ พลเยี่ยม เป็นลูกเขยของ พ่อใหญ่อุปฮาด ซึ่งโยกย้ายมาจากเมือง กมลาไสย มาตั้งบ้านเรือนในบริเวณที่ตั้งอำเภอเป็นอันดับแรกในแถบศาลาประชาคม และที่ราชพัสดุข้างคลองในปัจจุบัน แต่ต้องย้ายมาอยู่ข้างไปรษณีย์ในปัจจุบันเนื่องจาก ศึกษานิเทศ ต้องการใช้พื้นที่ในการตั้งอำเภอที่อยู่ใกล้โรงเรียน
เมื่อจะมีการใช้พื้นที่ในบริเวณตำบลแวงตั้งเป็นอำเภอบรรดาเครือญาติพ่อใหญ่วันดี จึงมาขอพื้นที่ที่หักร้างถางพงเลี้ยงวัวจากพ่อใหญ่อุปฮาดตั้งบ้านเรือนหลังต่อมาและขยายเป็นหมู่บ้าน สมัยนั้นการขอแบ่งที่ดินจากกันเอากล้วยแลกกันได้ และถนน หน้าบ้านพ่อใหญ่อุปฮาด ถูกตั้งชื่อว่า ถนน พ.ศ. 2462 ซึ่งเป็นปี พ.ศ. ที่ตั้งอำเภอตามที่ปรากฏในราชกิจจานุเบกษา
การที่พ่อใหญ่อุปฮาด อพยพมาจากเมืองมลาไสย เนื่องจากจะมีการสัมนาผู้ที่เกี่ยวของกับการปฏิวัติ ซึ่งอาจจะเป็น รศ 130 ที่มีเชื้อพระวงศ์กว่าครึ่งเข้าร่วมด้วย จึงได้มีการสร้างสะพาน รศ 130 ขึ้นในบริเวณแยกเสาวนีย์ ใกล้ๆสวนดุสิต เพื่อเป็นสัญลักษณ์ที่มีความหมายลึกซึ้ง


พระราชบัญญัติขนานนามสกุล น่าจะมีการเตรียมการมานานแล้ว จึงมีการตราพระราชบัญญัติขนานนามสกุล เมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2455 และให้มีการตราเป็นกฎหมายโดยสมบูรณ์เมื่อ 1 เมษายน 2458 จากข้อมูลที่แผ่นป้ายบริเวณเสาหลักเมืองโพนทอง ระบุว่า เหตุการณ์ที่พระยาไชยสุนทร ใช้นามสกุลพลเยี่ยมไปรับตำแหน่งที่กาฬสินธุิ์นั้น อาจจะเป็นช่วงเวลาในสมัยรัชกาลที่5
พระราชบัญญัตขนานนามสกุล น่าจะมีการเตรียมการมานานแล้ว หลังจาก 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2455 ผู่อี๋ จักรพรรดิองค์สุดท้ายของราชวงศ์ชิงถูกบังคับให้สละราชสมบัติ จึงมีการตราพระราชบัญญัติขนานนามสกุล เมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2455 สาเหตุที่มีการประวิงเวลาน่าจะเกิดจากกฎหมายอันเข้มงวดของราชวงศ์ชิง อีกทั้งการสืบสาแหรกชาวจีนในประเทศเป็นไปด้วยความยากลำบาก และอาจจะมีการอพยพเข้ามาอย่างต่อเนื่อง และให้มีการตราเป็นกฎหมายโดยสมบูรณ์เมื่อ 1 เมษายน 2458 การที่มีผู้วางแผน ปลงพระชนม์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเพื่อเปลี่ยนแปลงการปกครอง ได้กดดันให้ราชสำนักเกิดการแบ่งฝักแบ่งฝ่ายขึ้น กลุ่มที่พ่ายแพ้ได้แตกกระจายออกจากที่ตั้งเพื่อหลบซ่อนตัว รศ130 เป็นการเช็คกำลังไพร่พล ของแต่ละฝ่ายครั้งสำคัญ ที่ส่งผลให้มีระบบอบประชาธิปไตยในอีก ยี่สิบปีถัดมา รวมทั้งเป็นเรื่องการเมืองขั้วอำนาจ การเมืองระหว่างประเทศ และการก่อตัวของสงครามโลกครั้งที่2 ที่มีเยอรมัน อเมริกา ญี่ปุ่น และจีน เป็นขั้วใหญ่ ผลของสงครามโลกครั้งที่2 ที่เกิดการที่อเมริกาชนะเยอรมัน ก็ส่งผลให้การเมืองในประเทศไทยเปลี่ยนแปลงด้วย จากการที่ OSS ของอเมริกาและอังกฤษ กดดันให้ไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองอีกครั้ง มิฉะนั้นจะให้ไทยเป็นฝ่ายแพ้สงครามไปด้วย แต่การเตรียมการตั้งแต่สมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนา พระราชเทวี ทำให้ประเทศไทยรอดพ้นการตกเป็นฝ่ายแพ้สงครามมาได้ และเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงชะตากรรมไม่ได้
จากข้อมูลที่แผ่นป้ายบริเวณเสาหลักเมืองโพนทอง ระบุว่า เหตุการณ์ที่พระยาไชยสุนทร ใช้นามสกุลพลเยี่ยมไปรับตำแหน่งที่กาฬสินธุิ์นั้น น่าจะเป็นช่วงเวลาในสมัยรัชกาลที่5
แต่ทั้งนี้ การปฏิวัติ ร.ศ. 130 น่าจะเป็นกลศึกของสยาม เพื่อ ใช้บังคับให้ ราชวงศ์ชิง อยู่ในสภาวะ ไม่กล้าอ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์สยาม ตามข้อตกลงการเป็นอาณานิคมลับของราชวงศ์ชิง ดังเช่นกลศึกเจ้าอนุวศ์ ซึ่งใช้บังคับให้ราชวงศ์ชิงกลุ่มแรกที่มาถึงสยามซ่อนตัว โดยในสมัยรัชกาลที่สาม สยามได้หยุดการส่งจิ้มก้องให้กับประเทศจีน เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนในการดูแล องค์ชายฉี รัชทายาทสายหลักราชวงศ์ชิง รวมทั้งจัดการกับปัญหา การก่อตัวของกลุ่มต้านชิงกู้หมิงในสยามตอนต้น และมีพระมหากษัตริย์สยามหลายพระองค์ ทรงชุดฉลองพระองค์เป็นชุดข้าราชการราชวงศ์ชิงดังภาพที่ปรากฎในประวัติศาสตร์
ซึ่งปัญหาเรื่องความต้องการใช้สยามเป็นอาณานิคมลับของราชวงศ์ชิงนี้ก่อตัวตั้งแต่สมัยอยุทธยาตนปลาย กรุงศรีอยุทธยา ต้องทำข้อตกลงลับกับพม่า เพื่อให้พม่ายกทัพมารุกรานสยาม โดยยอมเสียดินแดน ทวาย มะริด และตะนาวศรี เพื่อลดพื้นที่ติดทะเล ที่ทำให้สยามเป็นชัยภูมิที่เหมาะสำหรับการค้าทางทะเล และลดความต้องการครอบครองของมหาอำนาจคือจีนในสมัยนั้น และไทย ต้องให้ พระยาจักรี ซึ่งมีหน้าที่ดูแลหน่วยเสือหมอบแมวเซา ทำงานใต้ดิน จัดเตรียมเสบียงให้กับกองทัพพม่าเป็นเวลา 2ปี ตามเส้นทางเดินทัพพม่า และเป็นการเก็บส่วยอากรไว้เป็นคลังตามรายทาง พม่าจึงยอมยกทัพมาเพราะรู้ว่าถ้าราชวงศ์ชิงทั้งกองทัพมาอยู่สยาม พม่าเดือดร้อนแน่ ส่วนการที่ พม่าล้อมหมู่บ้านบางระจันนั้น ก็เป็นกลศึกชนิดนึง เพราะ กรุงศรีอยุทธยา ไม่ต้องการที่จะรบกับพม่าเอง จึงให้ทัพพม่ายกทัพอ้อมไปสิงห์บุรีซึ่งเป็นหมู่บ้านที่มีความสามารถทางทหารที่เข้มแข็งที่สุดในบรรดาหมู่บ้านกำลังสำรองรบไปไม่น้อยกว่้าหัวเมืองลพบุรี แล้วเชิญทูตจึนไปดูการรบ ตามที่มีบันทึกไว้ในประวัติศาสตร์ ดังนั้นพอทหารพม่ามาถึงกรุงศรีอยุทธยา ยังไม่ได้รบกัน ก็เกิดเพลิงใหม้ในเมืองเสียก่อน และมีการขนย้ายทรัพย์สินออกจากกรุงศรีอยุทธยาก่อนหน้านั้นเป็นเวลาหลายเดือน จนพระเจ้าตากซึ่งทนดูการไม่พร้อมรบของกรุงศรีอยุทธยาไม่ได้ ได้พาไพร่พลออกจากกรุงศรีอยุทธยาก่อนที่กรุงศรีอยุทธยาจะแตกเป็นเวลา3เดือน


ผังเมือง พื้นที่อำเภอโพนทอง เมื่อรวมกับ อำเภอหนองพอก เป็นรูปหัวใจ ราชกิจจานุเบกษา ระบุว่ามีการตั้งเป็นอำเภอโพนทอง เมื่อ พศ 2462 ซึ่งเป็นชื่อ ถนน ที่มีไปรษณีย์ตั้งอยู่ คือ ถนน พ.ศ. 2462 คำว่า หัวใจ ในภาษาจีน คือคำว่า ซิม ในสมัยนั้น การออกแบบถนน และผังเมืองให้เป็นระบบระวังภัย
ราชกิจจานุเบกษา ระบุว่ามีการตั้งเป็นอำเภอโพนทอง เมื่อ พ.ศ. 2462 สอดคล้องกับประวัติศาสตร์ ว่าหัวเมือง ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ ขอนแก่น เป็นเชื้อสายพระเจ้าสิริบุญสาร บิดาของเจ้าอนุวงศ์ทั้งสิ้น
มีมานานแล้วซึ่งต้องใช้กระดาษและแพรพรรณจำนวนมหาศาล นามสกุลหลักๆของอำเภอโพนทอง ซึ่งได้แก่ ตระกูล พลเยี่ยม และตระกุลตั้ง มีเครือญาติกับชาวอำเภอเมืองร้อยเอ็ด ซึ่งสอดคล้องกับการที่เมือง กมลาไสย ต้องโอนมาขึ้นกับ ร้อยเอ็ด แทน หัวเมืองกาฬสินธุ์ และย้ายกลับไปขึ้นกับกาฬสินธุ์เหมือนเดิม สอดคล้องกับประวัติศาสตร์ ว่าหัวเมือง ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ ขอนแก่น เป็นเชื้อสายพระเจ้าสิริบุญสาร บิดาของเจ้าอนุวงศ์ทั้งสิ้น
การที่เจ้าอนุวงศ์เดินทัพไปถึงโคราช และกองหน้าไปถึงสระบุรีนั้น อาจจะเป็นกลศึก เพื่อนำไปบังคับให้ องค์ชายฉี ของราชวงชิงที่เดินทางมาถึงสยามซ่อนตัว เพราะบรรดาญาติๆของเจ้าอนุวงศ์ไม่เอาด้วย และกลศึกนี้ บังคับให้เจ้าอนุวงศ์แข็งเมืองจริงๆเพราะต้องรอนแรมเดินทางไกลมาเพียงหมู่เดียวเพราะได้รับคำสั่งให้ยกกำลังทหารมาช่วย สยาม ซึ่งเกิดความผิดพลาดสู่หลุมพรางครั้งแล้วครั้งเล่า และผู้ที่ดูแลเมืองโคราชเป็นหญิง และไม่มีข้อมูลว่าหน่วยสอดแนมที่เดินทางถึงสระบุรีนั้นเป็นอย่างใด ซึ่งสระบุรีนั้นเป็นหัวเมืองทางทหารชนิดนึงเป็นเมืองอาณาบริเวณบริวารของบางกอก เจ้าอนุวงศ์ที่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกษัตริย์ลาว อาจจะเนื่องจาก เติบโตเป็นตัวประกันในบางกอก ซึ่งมีชื่อถนน อนุวงศ์ ที่เยาวราช อยู่เป็นปรากฏ
และอาจจะเป็นการเกณฑ์แรงงานเหมืองทองจากลาว มาทำเหมืองทองแดง ซึ่งค้นพบสายแร่ในหัวเมืองโคราช ส่งผลให้เมืองบริเวณที่มีสายแร่ มีเสียงเหน่อ กว่าคนอีสานทั่วไป และตามประวัติศาสตร์ก็มีการอพยพชาวลาวจากบางกอกไปที่จังหวัดพิจิตรเพื่อทำเหมืองทอง ดังเช่นจังหวัดประจวบคีรีขันธ์


== การแบ่งเขตการปกครอง ==
== การแบ่งเขตการปกครอง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:16, 28 พฤศจิกายน 2559

อำเภอโพนทอง
การถอดเสียงอักษรโรมัน
 • อักษรโรมันAmphoe Phon Thong
คำขวัญ: 
โพนทองเมืองงาม เรืองนามปู่กุดเป่ง เคร่งวัฒนธรรม หัตถกรรมเสื่อกก
มรดกแหลมพยอม ข้าวหอมองุ่นหวาน
สืบสานพัฒนา การศึกษาก้าวไกล
แผนที่จังหวัดร้อยเอ็ด เน้นอำเภอโพนทอง
แผนที่จังหวัดร้อยเอ็ด เน้นอำเภอโพนทอง
พิกัด: 16°18′0″N 103°58′41″E / 16.30000°N 103.97806°E / 16.30000; 103.97806
ประเทศ ไทย
จังหวัดร้อยเอ็ด
พื้นที่
 • ทั้งหมด719.2 ตร.กม. (277.7 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2557)
 • ทั้งหมด108,138 คน
 • ความหนาแน่น150.35 คน/ตร.กม. (389.4 คน/ตร.ไมล์)
รหัสไปรษณีย์ 45110
รหัสภูมิศาสตร์4507
ที่ตั้งที่ว่าการที่ว่าการอำเภอโพนทอง หมู่ที่ 1
ถนนนิคมดำริห์ ตำบลแวง อำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด 45110
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

โพนทอง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดร้อยเอ็ด เดิมชื่ออำเภอแวง

ที่ตั้งและอาณาเขต

อำเภอโพนทองตั้งอยู่ทางทิศเหนือของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังต่อไปนี้

ประวัติ

ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีเจ้าลาวทรงพระนามว่า "เจ้าโสมพะมิตร" ได้พาครอบครัวและบริวารข้ามฝั่งโขงมาจากบริเวณประเทศลาวในปัจจุบัน มาตั้งรกรากที่บ้านน้ำดำ (จังหวัดกาฬสินธุ์ในปัจจุบัน) และขณะนั้นเจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์ต้องการที่จะขยายอาณาเขตครอบครองแผ่นดินทางอีสานเหนือของไทยโดยมีจุดมุ่งหมายที่เมืองนครราชสีมา จึงเกณฑ์ให้กลุ่มเจ้าโสมพะมิตรร่วมรบด้วย แต่เจ้าโสมพะมิตรปฏิเสธที่จะช่วยรบ พร้อมกับอพยพหนีการจับกุมของเจ้าอนุวงศ์ มาตั้งกองคาราวานที่บ้านแวง ริมหนองบัว ซึ่งในละแวกนั้นมีท้าวโสใหญ่เป็นผู้ปกครองดูแลอยู่และตั้งถิ่นฐานอยู่บ้านโพนทองน้อย ท้าวโสใหญ่มีลูกชายสองคนคือ "โสน้อย" และ "พรหมมาใหญ่" ซึ่งได้ร่วมกันกับกลุ่มเจ้าโสมพะมิตรต่อต้านเจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์ จนเจ้าอนุวงศ์พ่ายแพ้หนีกลับเวียงจันทน์ไป ส่วนโสน้อยได้รวมพรรคพวกมาตั้งเมืองใหม่ที่บ้านแวง

ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงประกาศให้มีการใช้นามสกุล "โสน้อย" จึงได้ใช้นามสกุลว่า "พลเยี่ยม" ซึ่งบริวารส่วนใหญ่ก็ใช้นามสกุลพลเยี่ยมเช่นกัน นายโสน้อยได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกำนันคนแรกของบ้านแวง (อำเภอแวงหรืออำเภอโพนทองในปัจจุบัน) มีชื่อว่า "ท้าวสุวรรณสาร" (จึงถือว่าท่านผู้นี้เป็นต้นสกุล "พลเยี่ยม") ซึ่งยังปรากฏเสาหลักเมืองแวงตั้งอยู่ที่บริเวณมุมที่ตั้งของที่ทำการไปรษณีย์โพนทองจนทุกวันนี้


นามสกุลพลเยี่ยม นามสกุลประจำอำเภอ อาจจะเป็นนามสกุลอันดับแรกๆของประเทศไทย โดยไม่ได้มีการบันทึกไว้ เช่นเดียวกับ ราชสกุลจักรพงษ์ ที่ไม่มีในราชกิจจานุเบกษา นามสกุลพระราชทาน จากคำบอกเล่าของผู้สูงวัยของอำเภอ ทราบความได้ว่า เป็นนามสกุลที่ได้มีที่มาจากการไปรบศึกฮ่อกลับมา โดยมีผู้ที่ได้ไปร่วมรบศึกฮ่อจำนวน 4 คน คื่อ พ่อใหญ่ฮ่อ พ่อใหญ่ขันตี พ่อใหญ่วันดี พรหมเยี่ยม พ่อใหญ่อุปชิต

แต่ผู้ที่ได้ใช้นามสกุล พลเยี่ยม อันดับแรก คือ กำนันพรหม เครือญาติกัน ซึ่งรู้หนังสือ และนำใบไปขึ้นทะเบียนที่จังหวัดเป็นคนแรก ซึ่งสมัยนั้นใบตั้งนามสกุลน่าจะเป็นกระดาษปอนด์ ที่สั่งมาจากอังกฤษ พระยาไชยสุนทร เป็นเขยของตระกูล พลเยี่ยม ต่อมาจึงตั้งนามสกุลใหม่เป็น ศรีกาฬสินธุ์ ตามคำบอกเล่าของลูกหลาน สกุลพลเยี่ยม ซึ่งเป็นอาจารย์ระดับด็อกเตอร์อยู่ที่ จังหวัด กาฬสินธุ์ ซึ่งไปค้นราชกิจจานุเบกษามา พบว่า ท้าวไชยสุนทร ได้รับการแต่งตั้งเป็นพระยาไชยสุนทร พ่อใหญ่วันดี พรหมเยี่ยมตอนไปรบศึกฮ่อ ได้รับคำชมเชยจากผู้ร่วมรบว่ามีพลังช้างสาร สามารถแบกเสาปลูกค่ายด้วยลำพังผู้เดียวได้ จากคำบอกเล่าของยายทองมา ลูกสาวพ่อใหญ่วันดี ระบุว่า พ่อใหญ่วันดี หรือ พ่อใหญ่หาญชนะ ลงเสาล้อมที่นาเพียงลำพังในเวลาคืนข้างเดือน และมีช้างใช้งาน1ตัว พ่อใหญ่วันดี พรหมเยี่ยม ซึ่งในเวลาต่อมาเป็น พ่อใหญ่หาญชนะ พลเยี่ยม เป็นลูกเขยของ พ่อใหญ่อุปฮาด ซึ่งโยกย้ายมาจากเมือง กมลาไสย มาตั้งบ้านเรือนในบริเวณที่ตั้งอำเภอเป็นอันดับแรกในแถบศาลาประชาคม และที่ราชพัสดุข้างคลองในปัจจุบัน เมื่อจะมีการใช้พื้นที่ในบริเวณตำบลแวงตั้งเป็นอำเภอบรรดาเครือญาติพ่อใหญ่วันดี จึงมาขอพื้นที่ที่หักร้างถางพงเลี้ยงวัวจากพ่อใหญ่อุปฮาดตั้งบ้านเรือนหลังต่อมาและขยายเป็นหมู่บ้าน

พระราชบัญญัติขนานนามสกุล น่าจะมีการเตรียมการมานานแล้ว จึงมีการตราพระราชบัญญัติขนานนามสกุล เมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2455 และให้มีการตราเป็นกฎหมายโดยสมบูรณ์เมื่อ 1 เมษายน 2458 จากข้อมูลที่แผ่นป้ายบริเวณเสาหลักเมืองโพนทอง ระบุว่า เหตุการณ์ที่พระยาไชยสุนทร ใช้นามสกุลพลเยี่ยมไปรับตำแหน่งที่กาฬสินธุิ์นั้น อาจจะเป็นช่วงเวลาในสมัยรัชกาลที่5

ราชกิจจานุเบกษา ระบุว่ามีการตั้งเป็นอำเภอโพนทอง เมื่อ พ.ศ. 2462 สอดคล้องกับประวัติศาสตร์ ว่าหัวเมือง ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ ขอนแก่น เป็นเชื้อสายพระเจ้าสิริบุญสาร บิดาของเจ้าอนุวงศ์ทั้งสิ้น

การแบ่งเขตการปกครอง

การปกครองส่วนภูมิภาค

อำเภอโพนทองแบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็น 14 ตำบล 196 หมู่บ้าน

1. แวง (Waeng) 8. โพธิ์ศรีสว่าง (Pho Si Sawang)
2. โคกกกม่วง (Khok Kok Muang) 9. อุ่มเม่า (Um Mao)
3. นาอุดม (Na Udom) 10. คำนาดี (Kham Na Di)
4. สว่าง (Sawang) 11. พรมสวรรค์ (Phrom Sawan)
5. หนองใหญ่ (Nong Yai) 12. สระนกแก้ว (Sa Nok Kaeo)
6. โพธิ์ทอง (Pho Thong) 13. วังสามัคคี (Wang Samakkhi)
7. โนนชัยศรี (Non Chai Si) 14. โคกสูง (Khok Sung)

การปกครองส่วนท้องถิ่น

ท้องที่อำเภอโพนทองประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 15 แห่ง ได้แก่

  • เทศบาลตำบลโพนทอง[1] ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำบลแวงและบางส่วนของตำบลสระนกแก้ว
  • เทศบาลตำบลโคกสูง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลโคกสูงทั้งตำบล
  • เทศบาลตำบลโคกกกม่วง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลโคกกกม่วงทั้งตำบล
  • เทศบาลตำบลโนนชัยศรี ครอบคลุมพื้นที่ตำบลโนนชัยศรีทั้งตำบล
  • เทศบาลตำบลโพธิ์ทอง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลโพธิ์ทองทั้งตำบล
  • เทศบาลตำบลแวง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลแวง (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตำบลโพนทอง)
  • องค์การบริหารส่วนตำบลนาอุดม ครอบคลุมพื้นที่ตำบลนาอุดมทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลสว่าง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลสว่างทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลหนองใหญ่ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลหนองใหญ่ทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลโพธิ์ศรีสว่าง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลโพธิ์ศรีสว่างทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลอุ่มเม่า ครอบคลุมพื้นที่ตำบลอุ่มเม่าทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลคำนาดี ครอบคลุมพื้นที่ตำบลคำนาดีทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลพรมสวรรค์ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลพรมสวรรค์ทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลสระนกแก้ว ครอบคลุมพื้นที่ตำบลสระนกแก้ว (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตำบลโพนทอง)
  • องค์การบริหารส่วนตำบลวังสามัคคี ครอบคลุมพื้นที่ตำบลวังสามัคคีทั้งตำบล

อ้างอิง

  1. มติที่ประชุมคณะกรรมการพิจารณาเรื่องการขอเปลี่ยนแปลงชื่อจังหวัด อำเภอ และตำบล หมู่บ้าน หรือสถานที่ราชการอื่นๆ 19 ต.ค. 2552