ผู้ใช้:Ganga999devi/ทดลองเขียน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เจ้าแม่เขาไท่
เทวรูป พระแม่จุ้ยบ้อเนี่ยเนี้ย ศิลปะแบบประเพณีจีน ณ ศาลเจ้าแม่คงคา นครกวานซี เทศมณฑลซินจู๋ ไต้หวัน .
ภาษาจีน水母娘娘
ความหมายตามตัวอักษรเจ้าแม่คงคา(จีน)
เจ้าแม่บ่อน้ำบาดาล
พระแม่คงคา(จีน)
เทวรูป พระแม่จุ้ยบ้อเนี่ยเนี้ย ศิลปะราชวงศ์หมิง.
จิตรกรรมพระแม่จุ้ยบ้อเนี่ยเนี้ย ศิลปะแบบประเพณีจีน.
เทวรูป และจิตรกรรมพระแม่จุ้ยบ้อเนี่ยเนี้ย ศิลปะแบบประเพณีจีน.

จุ้ยโบ้เนี้ยวเนี้ยว (สำเนียงจีนฮกเกี้ยน) หรือ จุ้ยบ้อเนี่ยเนี้ย (สำเนียงจีนแต้จิ๋ว) หรือ “ตุ๊ยบ่วยเหนี่ยงเหนี่ยง”(สำเนียงไฮ้หน่ำ-ไหหลำ) (จีน: 水母娘娘; พินอิน: Shuǐ Mu niáng niáng) หรือ กิมซีเส่งโบ้ (สำเนียงจีนฮกเกี้ยน) , กิมซีเซิ่งหมู่ (สำเนียงจีนแต้จิ๋ว)(จีน: 晋祠圣母; พินอิน: Jin ci sheng mu) เป็นเทวนารีนักพรตตามความเชื่อของจีน และศาสนาเต๋า. , พระนาม “ตุ๊ยบ่วยเหนี่ยงเหนี่ยง” หรือแปลตรงตัวได้ว่า เจ้าแม่คงคา(จีน) หรืออีกนาม คือ เจ้าแม่บ่อน้ำบาดาล เป็นเทพนารีนักพรต ที่รู้จักและนิยมบูชาเช่นเดียวกับม่าจ้อโป๋ หรือไฮตังม่าและเจ้าแม่ทับทิม. พระนางเป็นเทวนารีนักพรตที่รักษาสายน้ำในคติของความเชื่อของจีน และศาสนาเต๋า.[1][2]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. Fontenrose, Joseph Eddy. Python: A Study of Delphic Myth and Its Origins. University of California Press, 1959. Print.
  2. Werner, Edward Theodore Chalmers (1922). Myths and Legends of China (PDF). Courier Corporation. pp. 166–168.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]