ดินแดนโพ้นทะเลของบริเตน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ที่ตั้งของดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร

ดินแดนโพ้นทะเลของบริเตน (อังกฤษ: British Overseas Territories) คือ ดินแดนที่อยู่ภายใต้อธิปไตยของสหราชอาณาจักร[1][2] แต่ไม่ได้นับเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร ทั้งสิบสี่ดินแดนมีพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรเป็นประมุขแห่งรัฐ[3]

ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรในปัจจุบัน[แก้]

สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเลอยู่ 14 แห่ง[4]ได้แก่:

ธงชาติ ตราแผ่นดิน ชื่อ สถานที่ คำขวัญ พื้นที่ จำนวนประชากร เมืองหลวง
แองกวิลลา อาณานิคมแคริบเบียนและแอตแลนติกเหนือ Strength and Endurance 146 km2 (56.4 sq mi) [5] 13,500[6] เดอะแวลลีย์
เบอร์มิวดา มหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ Quo fata ferunt (Latin: "Whither the Fates carry [us]") 54 km2 (20.8 sq mi) [7] 64,000 คน(ค.ศ. 2007 โดยประมาณ) [8] แฮมิลตัน
บริติชแอนตาร์กติกเทร์ริทอรี แอนตาร์กติกา Research and discovery 1,709,400 km2 (660,000 sq mi) [5] 50 คนในฤดูหนาว และกว่า 400 คนในฤดูร้อน[9] รอเทอรา (ฐานทัพหลัก)
บริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี มหาสมุทรอินเดีย In tutela nostra Limuria (Latin: "Limuria is in our charge") 46 km2 (18 sq mi) [10] ประมาณ 3,000 คน โดยเป็นทหารและเจ้าหน้าที่ของสหราชอาณาจักรและสหรัฐ[11] ดีเอโกการ์ซีอา (ฐานทัพ)
หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน อาณานิคมแคริบเบียนและแอตแลนติกเหนือ Vigilate (Latin: "Be watchful") 153 km2 (59 sq mi) [12] 27,000 (2005 estimate) [12] โรดทาวน์
หมู่เกาะเคย์แมน อาณานิคมแคริบเบียนและแอตแลนติกเหนือ He hath founded it upon the seas 259 km2 (100.0 sq mi) [13] 60,456 คน[13] จอร์จทาวน์
หมู่เกาะฟอล์กแลนด์ มหาสมุทรแอตแลนติกใต้ Desire the right 12,173 km2 (4,700 sq mi) [7] 2,955 คน(ค.ศ. 2006) [14] สแตนลีย์
ยิบรอลตาร์ คาบสมุทรไอบีเรีย Nulli expugnabilis hosti (Latin: "No enemy shall expel us") 6.5 km2 (2.5 sq mi) [15] 28,800 คน(ค.ศ. 2005) [16] ยิบรอลตาร์
มอนต์เซอร์รัต อาณานิคมแคริบเบียนและแอตแลนติกเหนือ 101 km2 (39 sq mi) [17] 4,655 คน(ค.ศ. 2006 โดยประมาณ) [17] พลิมัท (ปัจจุบันถูกทิ้งร้าง; เมืองหลวงโดยพฤตินัยคือเบรดส์)
หมู่เกาะพิตแคร์น มหาสมุทรแปซิฟิก 45 km2 (17 sq mi)
(all islands) [18]
51 (2008) [19] แอดัมส์ทาวน์
เซนต์เฮเลนา   มหาสมุทรแอตแลนติกใต้ Loyal and Unshakeable (St Helena)
Our faith is our strength (Tristan da Cunha)
420 km2 (162 sq mi) 4,255 คน(เซนต์เฮเลนา; ค.ศ. 2008)[20]
1,275 คน(อัสเซนชันและตริสตันดากูนยา; ประมาณการ)[21]
เจมส์ทาวน์
เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช มหาสมุทรแอตแลนติกใต้ Leo terram propriam protegat (Latin: "Let the lion protect his own land") 4,066 km2 (1,570 sq mi) [22] 99 คน[23] คิงเอดเวิร์ดพอยต์
แอโครเทียรีและดิเคเลีย เมดิเตอร์เรเนียน (ไซปรัส) 255 km2 (98 sq mi) [24] 14,000 คน(ประมาณครึ่งหนึ่งเป็นทหารและเจ้าหน้าที่กองทัพสหราชอาณาจักร); อิพิสโกพีแคนทูนเมนต์
หมู่เกาะเติกส์และเคคอส อาณานิคมแคริบเบียนและแอตแลนติกเหนือ 430 km2 (166 sq mi) [25] 32,000 คน(ค.ศ. 2006 ข้อมูลประมาณการ) [25] โคเบิร์นทาวน์

สกุลเงินตรา[แก้]

อาณานิคมโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรใช้สกุลเงินตราที่แตกต่างกันไป เช่น ปอนด์สเตอร์ลิง ดอลลาร์สหรัฐ หรือสกุลเงินเฉพาะถิ่น

อาณานิคม สกุลเงินท้องถิ่น
  • บริติชแอนตาร์กติกเทร์ริทอรี
  • เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช

ปอนด์สเตอร์ลิง

  • หมู่เกาะฟอล์กแลนด์

ปอนด์หมู่เกาะฟอล์กแลนด์

  • ยิบรอลตาร์

ปอนด์บรอลตาร์

  • เซนต์เฮเลนา

ปอนด์เซนต์เฮเลนา

  • บริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี
  • หมู่เกาะเติร์กและไคคอส

ดอลลาร์สหรัฐ

  • แองกวิลลา
  • มอนต์เซอร์รัต

ดอลลาร์แคริบเบียนตะวันออก

  • เบอร์มิวดา

ดอลลาร์เบอร์มิวดา

  • หมู่เกาะเคย์แมน

ดอลลาร์หมู่เกาะเคย์แมน

  • หมู่เกาะพิตแคร์น

ดอลลาร์นิวซีแลนด์

  • แอโครเทียรีและดิเคเลีย

ยูโร

อ้างอิง[แก้]

  1. "Supporting the Overseas Territories". UK Government. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 October 2014. สืบค้นเมื่อ 8 November 2014. There are 14 Overseas Territories which retain a constitutional link with the UK. .... Most of the Territories are largely self-governing, each with its own constitution and its own government, which enacts local laws. Although the relationship is rooted in four centuries of shared history, the UK government's relationship with its Territories today is a modern one, based on mutual benefits and responsibilities. The foundations of this relationship are partnership, shared values and the right of the people of each territory to choose to freely choose whether to remain a British Overseas Territory or to seek an alternative future.
  2. "British Overseas Territories Law". Hart Publishing. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 June 2020. สืบค้นเมื่อ 19 June 2020. Most, if not all, of these territories are likely to remain British for the foreseeable future, and many have agreed modern constitutional arrangements with the British Government.
  3. "What is the British Constitution: The Primary Structures of the British State". The Constitution Society. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 October 2014. สืบค้นเมื่อ 15 November 2014. The United Kingdom also manages a number of territories which, while mostly having their own forms of government, have the Queen as their head of state, and rely on the UK for defence and security, foreign affairs and representation at the international level. They do not form part of the UK, but have an ambiguous constitutional relationship with the UK.
  4. "Overseas Territories". UK Overseas Territories Foreign & Commonwealth Office. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 August 2002. สืบค้นเมื่อ 8 December 2010.
  5. 5.0 5.1 "British Antarctic Territory". Jncc.gov.uk. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-12-14. สืบค้นเมื่อ 2010-12-08.
  6. "Commonwealth Secretariat - Anguilla". Thecommonwealth.org. สืบค้นเมื่อ 2010-12-08.
  7. 7.0 7.1 "UNdata | record view | Surface area in km2". Data.un.org. 2009-11-04. สืบค้นเมื่อ 2010-12-08.
  8. "Bermuda". Jncc.gov.uk. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-12-25. สืบค้นเมื่อ 2010-12-08.
  9. "Commonwealth Secretariat - British Antarctic Territory". Thecommonwealth.org. สืบค้นเมื่อ 2010-12-08.
  10. "British Indian Ocean Territory". Jncc.gov.uk. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-12-25. สืบค้นเมื่อ 2010-12-08.
  11. "Commonwealth Secretariat - British Indian Ocean Territory". Thecommonwealth.org. สืบค้นเมื่อ 2010-12-08.
  12. 12.0 12.1 "British Virgin Islands (BVI)". Jncc.gov.uk. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-10-13. สืบค้นเมื่อ 2010-12-08.
  13. 13.0 13.1 "Cayman Islands". Jncc.gov.uk. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-10-12. สืบค้นเมื่อ 2010-12-08.
  14. "Commonwealth Secretariat - Falkland Islands". Thecommonwealth.org. 1982-06-14. สืบค้นเมื่อ 2010-12-08.
  15. "Gibraltar". Jncc.gov.uk. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-07-09. สืบค้นเมื่อ 2010-12-08.
  16. "Commonwealth Secretariat - Gibraltar". Thecommonwealth.org. 2002-11-07. สืบค้นเมื่อ 2010-12-08.
  17. 17.0 17.1 "Montserrat". Jncc.gov.uk. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-10-13. สืบค้นเมื่อ 2010-12-08.
  18. "Pitcairn Island". Jncc.gov.uk. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-12-25. สืบค้นเมื่อ 2010-12-08.
  19. "Commonwealth Secretariat - Pitcairn Islands (Pitcairn, Henderson, Ducie and Oeno Islands)". Thecommonwealth.org. สืบค้นเมื่อ 2010-12-08.
  20. "UN Statistics - St Helena census 2008" (PDF). unstats.un.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2014-06-29. สืบค้นเมื่อ 2011-01-04.
  21. "Territories: St Helena, Ascension, Tristan da Cunha". bbc.co.uk. 2010-12-01. สืบค้นเมื่อ 2011-01-04.
  22. "CIA World Factbook 1992". Dept. of Commerce's National Trade Databank. 1993-01-22. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (TXT)เมื่อ 2016-01-31. สืบค้นเมื่อ 2011-02-21 – โดยทาง the Libraries of the Univ. of Missouri-St. Louis.
  23. "Population of Grytviken, South Georgia and the South Sandwich Islands". Population.mongabay.com. 2009-03-31. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-04-26. สืบค้นเมื่อ 2010-12-08.
  24. "SBA Cyprus". Jncc.gov.uk. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-12-25. สืบค้นเมื่อ 2010-12-08.
  25. 25.0 25.1 "Turks and Caicos Islands". Jncc.gov.uk. 2009-11-01. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-09-12. สืบค้นเมื่อ 2010-12-08.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]