ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กุ้งยิง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Infobox medical condition (new)
{{กล่องข้อมูล โรค
| Name = กุ้งยิง<br /> (Stye)
| name = กุ้งยิง
| ICD10 = {{ICD10|H|00||h|00}}
| synonyms = Sty, hordeolum<ref name=Pub2016/>
| ICD9 = {{ICD9|373.11}}
| image = Stye02.jpg
| caption = กุ้งยิงด้านนอกที่เปลือกตาบน
| ICDO =
| field = [[จักษุศาสตร์]], [[ทัศนมาตรศาสตร์]]
| Image = Stye02.jpg
| pronounce = Stye {{IPAc-en|s|t|aɪ}}, hordeolum {{IPAc-en|h|ɔːr|ˈ|d|iː|ə|l|ə|m}}
| Caption = กุ้งยิง
| symptoms = รอยนูนนุ่มสีแดงที่ของของเปลือกตา<ref name=Pub2016/>
| OMIM =
| OMIM_mult =
| complications =
| onset = ทุกวัน<ref name=Fer2016/>
| MedlinePlus = 001009
| duration = สองสามวันถึงสัปดาห์<ref name=Lind2017/>
| eMedicineSubj = emerg
| eMedicineTopic = 755
| types =
| causes = โดยทั่วไปจาก [[bacterial infection|การติดเชื้อแบคทีเรีย]] ''[[Staphylococcus aureus]]''<ref name=Lind2017/>
| DiseasesDB = 12583
| risks =
| diagnosis =
| differential = [[Chalazion|ปรวดหนังตา]]<ref name=NIH2010/>
| prevention =
| treatment = [[Warm compresses|ประคบอุ่น]], ยาหยอดตา[[antibiotic|ปฏิชีวนะ]]<ref name=AFP2015/><ref name=EM2013/>
| medication =
| prognosis =
| frequency =
| deaths =
}}
}}
<!-- Definition and symptoms -->
'''กุ้งยิง''' ({{lang-en|stye หรือ hordeolum}}) คือ[[การอักเสบ]]ของ[[ต่อมไขมัน]]บริเวณฐานของ[[ขนตา]] (ใต้เปลือกตา) โดยมีอาการบวม แดง ร้อน และอาจมีอาการปวด แต่ไม่เป็นอันตรายต่อ[[นัยน์ตา]] รักษาได้ด้วย[[ยาหยอดตา]]หรือ[[ยาป้ายตา]] หรือรับประทาน[[ยาปฏิชีวนะ]]
'''กุ้งยิง''' หรือ '''ตากุ้งยิง''' ({{lang-en|hordeolum}} หรือ stye) เป็นการติดเชื้อของ[[oil gland|ต่อมน้ำมัน]]ใน[[เปลือกตา]]<ref name=NIH2010>{{cite web|title=Eyelid Disorders Chalazion & Stye|url=https://nei.nih.gov/faqs/eyelid-disorders-chalazion-stye|website=NEI|access-date=14 October 2016|date=4 May 2010|url-status=live|archive-url=https://web.archive.org/web/20161018231753/https://nei.nih.gov/faqs/eyelid-disorders-chalazion-stye|archive-date=18 October 2016}}</ref> ส่งผลให้เกิดรอยนูนนุ่มสีแดงที่ขอบของเปลือกตา<ref name=Pub2016>{{cite web|title=Hordeolum (Stye)|url=https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmedhealth/PMHT0024863/|website=PubMed Health|access-date=14 October 2016|url-status=live|archive-url=https://web.archive.org/web/20170908184822/https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmedhealth/PMHT0024863/|archive-date=8 September 2017}}</ref><ref name=AFP2015>{{cite journal|last1=Carlisle|first1=RT|last2=Digiovanni|first2=J|title=Differential Diagnosis of the Swollen Red Eyelid.|journal=American Family Physician|date=15 July 2015|volume=92|issue=2|pages=106–12|pmid=26176369}}</ref> The outside or the inside of the eyelid can be affected.<ref name=Lind2017/>


<!-- Cause and diagnosis -->
== สาเหตุที่ทำให้เกิดกุ้งยิง ==
โดยส่วนใหญ่เกิดจาก[[bacterial infection|การติดเชื้อแบคทีเรีย]] ''[[Staphylococcus aureus]]''<ref name=Lind2017>{{cite journal |vauthors=Lindsley K, Nichols JJ, Dickersin K |title=Non-surgical interventions for acute internal hordeolum |journal=Cochrane Database Syst Rev | volume=1| pages=CD007742 |date=2017 | pmid=28068454 |doi=10.1002/14651858.CD007742.pub4 | pmc=5370090}}</ref><ref name=EM2013>{{cite journal|last1=Deibel|first1=JP|last2=Cowling|first2=K|title=Ocular inflammation and infection.|journal=Emergency Medicine Clinics of North America|date=May 2013|volume=31|issue=2|pages=387–97|pmid=23601478|doi=10.1016/j.emc.2013.01.006}}</ref> กุ้งยิงชนิดด้านในเปลือกตาเกิดจากการอักเสบจากการติดเชื้อที่[[meibomian gland|ต่อมไมโบเมียน]] ส่วนชนิดด้านนอกเปลือกตาเกิดจากการอักเสบของ[[gland of Zeis|ต่อมซีส]]<ref name=AFP2015/> ในขณะที่อาการคล้ายคลึงกัน [[chalazion|ปรวดหนังตา]] (chalazion) เกิดจากต่อมไขมันอุดตันโดยปราศจากการติดเชื้อ<ref name=NIH2010/> A ส่วนใหญ่แล้วเกิดขึ้นตอนกลางของเปลือกตาและไม่มีอาการเจ็บ<ref name=AFP2015/>


== อ้างอิง ==
กุ้งยิงเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย บางรายเกิดเนื่องจากมีการอุดตันของต่อมเปลือกตานำมาก่อน แล้วเกิดการติดเชื้อมีอยู่ปกติในบริเวณนั้นตามมา เชื้อแบคทีเรียที่ทำให้เกิดกุ้งยิงส่วนใหญ่ได้แก่ เชื้อสแตพไฟโลคอคคัส ต้นเหตุที่อาจทำให้เกิดการติดเชื้อได้ง่าย ได้แก่
{{Wiktionary|stye}}
* เปลือกตาไม่สะอาด มักเกิดจากการขยี้ตาบ่อยๆ
{{Commons category|Stye}}
* ใช้เครื่องสำอาง แล้วล้างออกไม่หมดหรือล้างไม่สะอาด
{{รายการอ้างอิง}}
* ใส่หรือถอดคอนแทคเลนส์ด้วยมือไม่สะอาด


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== การรักษา ==
{{Medical resources
| DiseasesDB = 12583
| ICD10 = {{ICD10|H|00|0|h|00}}
| ICD9 = {{ICD9|373.11}}
| ICDO =
| OMIM =
| MedlinePlus = 001009
| eMedicineSubj = emerg
| eMedicineTopic = 755
| MeshID = D006726
}}
* [https://www.merckmanuals.com/home/quick-facts-eye-disorders/eyelid-and-tearing-disorders/chalazion-and-stye-hordeolum?query=stye Merck Manual]
* {{cite web|url=https://www.ncbi.nlm.nih.gov/books/NBK459349/|title=NIH - StatPearls - Stye}}


กุ้งยิงในระยะแรก ซึ่งมีลักษณะแบบเปลือกตาอักเสบ ยังไม่มีหนอง รักษาโดยการประคบด้วยผ้าชุบน้ำอุ่นวันละ 3-4 ครั้ง ครั้งละประมาณ 15-20 นาที เป็นเวลา 3-4 วัน เพื่อช่วยลดอาการบวม เจ็บ และเป็นการทำให้รูเปิดของต่อมเปลือกตาไม่อุดตัน ในขณะทำการประคบให้หลับตาไว้
การใช้ยา ควรได้รับการตรวจตาและสั่งยาโดยแพทย์ ยาที่ใช้มักเป็นยาปฏิชีวนะหยอดตา ป้ายตา และบางรายอาจต้องใช้ยาปฏิชีวนะรับประทานร่วมด้วย
กุ้งยิงที่เป็นประมาณ 2-3 วันขึ้นไป ถ้ายังไม่ดีขึ้น มักจะมีหนองอยู่ภายในก้อน จำเป็นต้องพบแพทย์เพื่อเจาะและขูดเอาหนองออกและใช้ยาปฏิชีวนะต่อไปอีก 3-5 วัน หรือจนกว่าจะหายอักเสบ ในบางรายอาจเป็นซ้ำได้ถ้าหนองออกไม่หมด หรือการอักเสบยังไม่หายดี หลังจากเจาะกุ้งยิง แพทย์มักปิดตาข้างนั้นไว้ เพื่อไม่ให้เลือดออก และช่วยลดอาการบวมประมาณ 4-6 ชั่วโมง ท่านไม่ควรขับรถในช่วงนั้น เพราะอาจเกิดอุบัติเหตุได้ ถ้ามีอาการปวดเจ็บบริเวณที่เป็น ให้รับประทานยาแก้ปวด เช่น พาราเซตามอล ครั้งละ 1-2 เม็ด ทุก 4 ชั่วโมงเมื่อมีอาการ ไม่ควรบีบหนองที่เปลือกตาเอง เพราะอาจทำให้อักเสบมากขึ้นได้


{{Eye pathology}}
== การป้องกัน ==


[[Category:โรคของหนังตา ระบบน้ำตาและเบ้าตา]]
* ดูแล รักษาความสะอาดบริเวณเปลือกตาและใบหน้า
* หลีกเลี่ยงการสัมผัสบริเวณเปลือกตาหรือขยี้ตาบ่อยๆ
* ทำการรักษาตั้งแต่เริ่มเป็นเพียงเล็กน้อย เพื่อไม่ให้การอักเสบเป็นมากขึ้น

กุ้งยิง เป็นโรคที่เกิดจากการติดเชื้อ ซึ่งอาจป้องกันมิให้เกิดขึ้นได้ ถ้าระมัดระวังในเรื่องของสุขอนามัย กุ้งยิงไม่ใช่โรคร้ายแรง โดยทั่วไป มักรักษาให้หายได้ภายใน 1 สัปดาห์ ในกรณีที่กุ้งยิงเป็นนานผิดปกติหรือเป็นซ้ำบ่อยๆ ควรปรึกษาแพทย์เพื่อรับการตรวจรักษาที่ถูกต้องเหมาะสมต่อไป

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{เริ่มอ้างอิง}}
* นิตยสารเพื่อสุขภาพ “สนองโอฐสภากาชาดไทย” ฉบับที่ 169 ฉบับเดือน กรกฎาคม – กันยายน 2549
{{จบอ้างอิง}}


[[หมวดหมู่:โรค]]
[[หมวดหมู่:จักษุวิทยา]]
{{โครงแพทย์}}
{{โครงแพทย์}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:45, 16 กุมภาพันธ์ 2564

กุ้งยิง
ชื่ออื่นSty, hordeolum[1]
กุ้งยิงด้านนอกที่เปลือกตาบน
การออกเสียง
สาขาวิชาจักษุศาสตร์, ทัศนมาตรศาสตร์
อาการรอยนูนนุ่มสีแดงที่ของของเปลือกตา[1]
การตั้งต้นทุกวัน[2]
ระยะดำเนินโรคสองสามวันถึงสัปดาห์[3]
สาเหตุโดยทั่วไปจาก การติดเชื้อแบคทีเรีย Staphylococcus aureus[3]
โรคอื่นที่คล้ายกันปรวดหนังตา[4]
การรักษาประคบอุ่น, ยาหยอดตาปฏิชีวนะ[5][6]

กุ้งยิง หรือ ตากุ้งยิง (อังกฤษ: hordeolum หรือ stye) เป็นการติดเชื้อของต่อมน้ำมันในเปลือกตา[4] ส่งผลให้เกิดรอยนูนนุ่มสีแดงที่ขอบของเปลือกตา[1][5] The outside or the inside of the eyelid can be affected.[3]

โดยส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย Staphylococcus aureus[3][6] กุ้งยิงชนิดด้านในเปลือกตาเกิดจากการอักเสบจากการติดเชื้อที่ต่อมไมโบเมียน ส่วนชนิดด้านนอกเปลือกตาเกิดจากการอักเสบของต่อมซีส[5] ในขณะที่อาการคล้ายคลึงกัน ปรวดหนังตา (chalazion) เกิดจากต่อมไขมันอุดตันโดยปราศจากการติดเชื้อ[4] A ส่วนใหญ่แล้วเกิดขึ้นตอนกลางของเปลือกตาและไม่มีอาการเจ็บ[5]

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 1.2 "Hordeolum (Stye)". PubMed Health. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 September 2017. สืบค้นเมื่อ 14 October 2016.
  2. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Fer2016
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 Lindsley K, Nichols JJ, Dickersin K (2017). "Non-surgical interventions for acute internal hordeolum". Cochrane Database Syst Rev. 1: CD007742. doi:10.1002/14651858.CD007742.pub4. PMC 5370090. PMID 28068454.
  4. 4.0 4.1 4.2 "Eyelid Disorders Chalazion & Stye". NEI. 4 May 2010. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 October 2016. สืบค้นเมื่อ 14 October 2016.
  5. 5.0 5.1 5.2 5.3 Carlisle, RT; Digiovanni, J (15 July 2015). "Differential Diagnosis of the Swollen Red Eyelid". American Family Physician. 92 (2): 106–12. PMID 26176369.
  6. 6.0 6.1 Deibel, JP; Cowling, K (May 2013). "Ocular inflammation and infection". Emergency Medicine Clinics of North America. 31 (2): 387–97. doi:10.1016/j.emc.2013.01.006. PMID 23601478.

แหล่งข้อมูลอื่น

การจำแนกโรค
ทรัพยากรภายนอก